เฉลย utq

UTQ-02132

UTQ-02132 การจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ  การจัดการเรียนรู้ตามทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง
คะแนน 19/20

กิจกรรม การสร้างความคิดใหม่” เป็นขั้นตอนการจัดกระบวนการเรียนรู้แบบสร้างองค์ความรู้ในขั้นใด
– ขั้นปรับเปลี่ยนความคิด (Turning restructuring of ideas)

เทคนิคในการสอนแบบใดที่ไม่เหมาะสมกับการจัดกระบวนการเรียนรู้รูปแบบการสร้างองค์ความรู้
– การสอนโดยการใช้บทเรียนสำเร็จรูป

เป้าหมายของการตั้งคำถามในข้อใดที่ ไม่ถูกต้อง ในการใช้เทคนิคการสอนแบบตั้งคำถาม
– ยุติบทบาทการช่างคุยของผู้เรียนในชั้นเรียนได้

คำกล่าวใดไม่ถูกต้อง เกี่ยวกับการจัดการเรียนรู้แบบสร้างองค์ความรู้
– มนุษย์มักจะพบประสบการณ์ใหม่เสมอความรู้จึงเปลี่ยนแปลงได้เรื่อย ๆ

ในการจัดการเรียนรู้แบบสร้างองค์ความรู้ผู้เรียนจะต้องมีบทบาทอย่างไรจึงจะบรรลุวัตถุประสงค์ของการเรียน
– ถูกทุกข้อ

คำกล่าวในข้อใดที่ ถูกต้องที่สุด เกี่ยวกับกระบวนการจัดการเรียนรู้รูปแบบการสร้างองค์ความรู้
– ครูเป็นผู้ชี้แนะ ไม่ใช่ผู้นำ กระตุ้นให้นักเรียนคิดมากกว่าให้ครูบอก

ข้อใดคือผลที่เกิดกับผู้เรียนในการจัดกระบวนการเรียนรู้แบบสร้างองค์ความรู้
– ถูกทุกข้อ

หลักการต่อไปนี้ เป็นทฤษฎีของการสร้างองค์ความรู้ (Constructivism) ยกเว้นข้อใด
– การบอกหรือการแสดงความคิดเห็นที่หลากหลายของครูเป็นทางเลือกของผู้เรียนในการความรู้ใหม่

กิจกรรม การใช้รูปแบบนวัตกรรมใหม่ หรือการใช้แนวคิด หรือความรู้ใหม่ ในสภาวการณ์ต่างๆ” เป็นขั้นตอนการจัดกระบวนการเรียนรู้ แบบสร้างองค์ความรู้ในขั้นใด
– ขั้นนำความคิดไปใช้ (Application of ideas)

วิธีการประเมินผลการจัดการเรียนรู้แบบสร้างองค์ความรู้ในข้อใดที่ไม่ถูกต้อง
– ประเมินว่าผู้เรียนยังไม่รู้อะไร

ข้อความใดแสดงถึงผลที่พึงประสงค์มากที่สุดของของการมีปฏิสัมพันธ์ต่อกันระหว่างนักเรียนกับนักเรียนในการจัดการเรียนรู้แบบสร้างองค์ความรู้
– การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ก่อให้เกิดแนวคิดใหม่

การกระทำใดแสดงถึงบทบาทสำคัญของบุคคลในการเรียนรู้ ตามแนวการสร้างองค์ความรู้ (Constructivism)
– ดลฤทัยมีความรู้เรื่องขับร้องและดนตรี จึงร่วมกันสร้างสรรค์ บทเพลงเพื่อต่อต้านยาเสพย์ติด” ใน การเรียนเรื่อง การแก้ไขปัญหาสังคม

เทคนิคการสอนแบบตั้งคำถาม (Questioning) กรณีที่ผู้เรียนประสบความยากลำบากในการตอบคำถาม บทบาทที่ครูไม่ควรกระทำ คือข้อใด
– กระตุ้นให้ผู้เรียนตอบ โดยทำเสียงดุ

พฤติกรรมในข้อใดเป็นผลที่เกิดจากการฝึกทักษะกระบวนการกลุ่มแก่ผู้เรียน
– ถูกทุกข้อ

สถานการณ์ของผู้เรียนในข้อใดที่ก่อให้เกิดกระบวนการเรียนรู้แบบการสร้างองค์ความรู้ (Constructivism) ได้ดีที่สุด
– ผู้เรียนร่วมกันคิดและทำงานโดยใช้กระบวนการกลุ่ม

เพราะเหตุใดกระบวนการเรียนรู้แบบสร้างองค์ความรู้ในขั้นสุดท้ายจึงต้องให้ผู้เรียนทบทวน
– เพื่อการประเมินผล ปรับปรุงและพัฒนา

คำกล่าวในข้อใด ถูกต้องที่สุด เกี่ยวกับการจัดกระบวนการเรียนรู้ (Constructivism)
– การจัดบรรยากาศและสิ่งแวดล้อมที่ดีให้ผู้เรียนได้คิดจะทำให้ผู้เรียนสร้างองค์ความรู้ได้ดี

กิจกรรมในข้อใดที่อธิบายถึงการจัดกระบวนการเรียนรู้แบบสร้างองค์ความรู้ในขั้นนำ
– การสร้างแรงจูงใจในบทเรียน

การกระทำในข้อใดต่อไปนี้คือบทบาทของครูในการจัดกระบวนการเรียนรู้แบบสร้างองค์ความรู้
– กระตุ้นให้ผู้เรียนคิดวางแผนร่วมกันในการสร้างความคิดใหม่

ลักษณะการจัดการเรียนรู้แบบใด เป็นการจัดการตามแนวการสร้างองค์ความรู้ (Constructivism)
– ส่งเสริมให้ผู้เรียนเป็นเจ้าของหัวข้อในการเรียนรู้

1. การกระทำใดแสดงถึงบทบาทสำคัญของบุคคลในการเรียนรู้ ตามแนวการสร้างองค์ความรู้ (Constructivism) 
  • ก. นายดิเรกนั่งคิดคนเดียวว่าทำอย่างไรจึงทำการบ้าน แก้สมการทางคณิตศาสตร์ได้
  • ข. นายนพพลคิดว่าเขาจะเข้าห้องสมุดเพื่อหาอ่านผ่อนคลายความเครียด
  • ค. ดลฤทัยมีความรู้เรื่องขับร้องและดนตรี จึงร่วมกันสร้างสรรค์ “บทเพลงเพื่อต่อต้านยาเสพย์ติด” ใน การเรียนเรื่อง การแก้ไขปัญหาสังคม
  • ง. นายมั่นเฝ้าดูต้นข้าวที่เขาปลูกด้วยความชื่นชม และคิดว่าเมื่อเขาขายข้าวได้ เขาจะนำเงินไปใช้หนี้ ธ.ส.
2. เทคนิคการสอนแบบตั้งคำถาม (Questioning) กรณีที่ผู้เรียนประสบความยากลำบากในการตอบคำถาม บทบาทที่ครูไม่ควรกระทำ คือข้อใด
  • ก. หยุดให้ผู้เรียนคิดมีเวลาหาคำตอบ
  • ข. ทบทวนคำถามซ้ำ
  • ค. แนะนำคำตอบให้เล็กน้อย
  • ง. กระตุ้นให้ผู้เรียนตอบ โดยทำเสียงดุ
3. สถานการณ์ของผู้เรียนในข้อใดที่ก่อให้เกิดกระบวนการเรียนรู้แบบการสร้างองค์ความรู้ (Constructivism) ได้ดีที่สุด
  • ก. ผู้เรียนได้ฟังคำชี้นำของครู
  • ข. ผู้เรียนบันทึกการบอกเล่าของครู
  • ค. ผู้เรียนค้นคว้าและคิดคนเดียว
  • ง. ผู้เรียนร่วมกันคิดและทำงานโดยใช้กระบวนการกลุ่ม
4.
ข้อความใดแสดงถึงผลที่พึงประสงค์มากที่สุด ของของการมีปฏิสัมพันธ์ต่อกันระหว่างนักเรียนกับนักเรียนในการจัดการเรียน รู้แบบสร้างองค์ความรู้ 
  • ก. ความผูกพันและเป็นกันเอง
  • ข. การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ก่อให้เกิดแนวคิดใหม่
  • ค. ความคุ้นเคยทำให้มีการอภัยต่อกันเมื่อทำผิด
  • ง. ความสนิทสนมก่อให้เกิดการผูกมิตรยาวนาน
5. เทคนิคในการสอนแบบใดที่ไม่เหมาะสมกับการจัดกระบวนการเรียนรู้รูปแบบการสร้างองค์ความรู้ 
  • ก. การสอนแบบสืบค้น
  • ข. การสอนแบบสร้างแผนผังความคิด
  • ค. การสอนแบบตั้งคำถาม
  • ง. การสอนโดยการใช้บทเรียนสำเร็จรูป
6. เป้าหมายของการตั้งคำถามในข้อใดที่ ไม่ถูกต้อง ในการใช้เทคนิคการสอนแบบตั้งคำถาม
  • ก. ช่วยสร้างนิสัยชอบคิดให้แก่ผู้เรียน
  • ข. สร้างแรงจูงใจและกระตุ้นความสนใจของผู้เรียน
  • ค. ประเมินจุดแข็งและจุดอ่อนของผู้เรียนได้
  • ง. ยุติบทบาทการช่างคุยของผู้เรียนในชั้นเรียนได้
7. ลักษณะการจัดการเรียนรู้แบบใด เป็นการจัดการตามแนวการสร้างองค์ความรู้ (Constructivism) 
  • ก. ส่งเสริมให้ผู้เรียนค้นคว้าหัวข้อต่างๆ ได้ หัวข้อจากที่ครูกำหนด
  • ข. จำกัดขอบเขตของการค้นคว้าแหล่งเรียนรู้
  • ค. ส่งเสริมให้ผู้เรียนเป็นเจ้าของหัวข้อในการเรียนรู้
  • ง. ผู้เรียนแสวงหาความรู้ใหม่ๆโดยไม่ให้ความสำคัญกับความรู้เดิม
8. เพราะเหตุใดกระบวนการเรียนรู้แบบสร้างองค์ความรู้ในขั้นสุดท้ายจึงต้องให้ผู้เรียนทบทวน 
  • ก. เพื่อสรุปความรู้ใหม่
  • ข. เพื่อแบ่งงานรับผิดชอบ
  • ค. เพื่ออภิปรายผลการทดลอง
  • ง. เพื่อการประเมินผล ปรับปรุงและพัฒนา
9. ในการจัดการเรียนรู้แบบสร้างองค์ความรู้ผู้เรียนจะต้องมีบทบาทอย่างไรจึงจะบรรลุวัตถุประสงค์ของการเรียน
  • ก. มีเจตคติที่ดีต่อการเรียนรู้
  • ข. มีทักษะการทำงานร่วมกันเป็นกลุ่ม
  • ค. มีความกระตือรือร้นในการแสวงหาความรู้
  • ง. ถูกทุกข้อ
10. หลักการต่อไปนี้ เป็นทฤษฎีของการสร้างองค์ความรู้ (Constructivism) ยกเว้นข้อใด
  • ก. การเรียนรู้เป็นกระบวนสร้างความรู้ไม่ใช่การรับข้อมูลเป็นส่วน ๆ
  • ข. การเรียนรู้ขึ้นอยู่กับความรู้เดิมซึ่งเป็นปัจจัยสำคัญของการสร้างความรู้ใหม่
  • ค. สถานการณ์หรือบริบทของการเรียนรู้เป็นสิ่งสำคัญของการสร้างความรู้ใหม่
  • ง. การบอกหรือการแสดงความคิดเห็นที่หลากหลายของครูเป็นทางเลือกของผู้เรียนในการความรู้ใหม่
11. กิจกรรม การสร้างความคิดใหม่” เป็นขั้นตอนการจัดกระบวนการเรียนรู้แบบสร้างองค์ความรู้ในขั้นใด 
  • ก. ขั้นนำ (Orientation)
  • ข. ขั้นทบทวนความรู้เดิม (Elicitation of the prior knowledge)
  • ค. ขั้นปรับเปลี่ยนความคิด (Elicitation of the prior knowledge)
  • ง. ขั้นทบทวน (Review)
12. ข้อใดคือผลที่เกิดกับผู้เรียนในการจัดกระบวนการเรียนรู้แบบสร้างองค์ความรู้ 
  • ก. ผู้เรียนมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์
  • ข. ผู้เรียนใฝ่เรียน ใฝ่รู้ มีทักษะการค้นคว้า
  • ค. ผู้เรียนสามารถสร้างความรู้ด้วยตนเอง
  • ง. ถูกทุกข้อ
13. วิธีการประเมินผลการจัดการเรียนรู้แบบสร้างองค์ความรู้ในข้อใดที่ไม่ถูกต้อง
  • ก. ครูประเมินความคิดรวบยอดของผู้เรียน
  • ข. ประเมินโดยการตรวจสอบความคิดของผู้เรียน
  • ค. ประเมินว่าผู้เรียนยังไม่รู้อะไร
  • ง. ประเมินทักษะการทำงานกลุ่ม
14. กิจกรรม การใช้รูปแบบนวัตกรรมใหม่ หรือการใช้แนวคิด หรือความรู้ใหม่ ในสภาวการณ์ต่างๆ” เป็นขั้นตอนการจัดกระบวนการเรียนรู้ แบบสร้างองค์ความรู้ในขั้นใด 
  • ก. ขั้นนำ (Orientation)
  • ข. ขั้นทบทวนความรู้เดิม (Elicitation of the prior knowledge)
  • ค. ขั้นปรับเปลี่ยนความคิด (Elicitation of the prior knowledge)
  • ง. ขั้นนำความคิดไปใช้ (Application of ideas)
15. คำกล่าวในข้อใดที่ ถูกต้องที่สุด เกี่ยวกับกระบวนการจัดการเรียนรู้รูปแบบการสร้างองค์ความรู้ 
  • ก. การจัดกระบวนการเรียนรู้แบบสร้างองค์ความรู้ไม่เหมาะกับชั้นเรียนที่นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนต่ำ
  • ข. ครูไม่ต้องปฏิสัมพันธ์กับผู้เรียนเพราะจะทำให้ผู้เรียนไม่เป็นตัวของตัวเอง
  • ค. ครูเป็นผู้ชี้แนะ ไม่ใช่ผู้นำ กระตุ้นให้นักเรียนคิดมากกว่าให้ครูบอก
  • ง. ผู้เรียนต้องเชื่อมั่นในตนเองสูง ไม่จำเป็นต้องมีปฏิสัมพันธ์ทางสังคม
16. กิจกรรมในข้อใดที่อธิบายถึงการจัดกระบวนการเรียนรู้แบบสร้างองค์ความรู้ในขั้นนำ
  • ก. การสร้างแรงจูงใจในบทเรียน
  • ข. การเรียนดำเนินการจัดกิจกรรมสืบค้นแหล่งเรียนรู้ต่าง ๆ
  • ค. การเรียนรู้ขึ้นอยู่กับความรู้เดิมซึ่งเป็นกิจกรรมสำคัญของการสร้างความรู้ใหม่
  • ง. ผู้เรียนนำผลของการอภิปรายมากำหนดความคิดใหม่
17. การกระทำในข้อใดต่อไปนี้คือบทบาทของครูในการจัดกระบวนการเรียนรู้แบบสร้างองค์ความรู้ 
  • ก. กระตุ้นให้ผู้เรียนคิดวางแผนร่วมกันในการสร้างความคิดใหม่
  • ข. ชี้นำให้ผู้เรียนตอบคำถามในใบงานให้ถูกต้อง
  • ค. ครูสร้างสถานการณ์ให้ผู้เรียนทำตามคำสั่ง
  • ง. ครูให้ผู้เรียนตั้งคำถามจากเรื่องที่ครูกำหนดให้ พร้อมเฉลยคำตอบตามแนวที่ครูกำหนด
18. พฤติกรรมในข้อใดเป็นผลที่เกิดจากการฝึกทักษะกระบวนการกลุ่มแก่ผู้เรียน 
  • ก. เกิดภาวะผู้นำและผู้ตามในสถานการณ์ที่เหมาะสม
  • ข. มีการร่วมมือกันทำงานในหมู่รักเรียน
  • ค. มีการเคารพความคิดเห็นและเหตุผลของผู้อื่น
  • ง. ถูกทุกข้อ
19. คำกล่าวใดไม่ถูกต้อง เกี่ยวกับการจัดการเรียนรู้แบบสร้างองค์ความรู้
  • ก. ความรู้เดิมเป็นปัจจัยสำคัญของการสร้างความรู้ใหม่
  • ข. สถานการณ์หรือบริบทของการเรียนรู้เป็นสิ่งสำคัญของการสร้างความรู้
  • ค. มนุษย์มักจะพบประสบการณ์ใหม่เสมอความรู้จึงเปลี่ยนแปลงได้เรื่อย ๆ
  • ง. มโนทัศน์ที่ผู้เรียนสร้างขึ้นในการจัดการเรียนรู้แบบสร้างองค์ความรู้ย่อมเป็นที่ยอมรับเสมอ
20. คำกล่าวในข้อใด ถูกต้องที่สุด เกี่ยวกับการจัดกระบวนการเรียนรู้ (Constructivism) 
  • ก. นักเรียนที่มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนดี จะเรียนรู้รูปแบบการสร้างองค์ความรู้ได้ดี
  • ข. คำถามปลายปิดที่มีคำตอบเดียวเหมาะกับการจัดการเรียนรู้แบบสร้างองค์ความรู้
  • ค. การสร้างความประทับใจให้ผู้เรียน จำบทเรียนได้ดี คือบทบาทของครูต้องโดดเด่นในการอธิบาย
  • ง. การจัดบรรยากาศแลสิ่งแวดล้อมที่ให้ผู้เรียนคิดสร้างสรรค์จะทำให้ผู้เรียนสร้างสรรค์องค์ความรู้ได้ดี



utq 02121-02130



02121  กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม
1. การประเมินเพื่อสะท้อนการเรียนรู้ของผู้เรียนทั้งด้านความรู้ ความเข้าใจ วิธีคิด ความพึงพอใจในการทำงาน ผู้สอนอาจใช้การประเมินด้วยวิธีใดเพราะเหตุใด
ข. การสัมภาษณ์ เพราะ เป็นการเก็บข้อมูลพฤติกรรมด้านความคิด ความรู้สึก กระบวนการขั้นตอนในการทำงานจากการถามตอบชัดเจนที่สุด
2. การกำหนดเกณฑ์การประเมินควรกำหนดอย่างไรให้เหมาะสมกับวัยของผู้เรียน
ง. กำหนดการประเมินแบบหลากหลาย ชัดเจน สัมพันธ์กับการสอนมีข้อมูลน่าเชื่อถือยุติธรรม
3. องค์ประกอบใดบ้างในหน่วยการเรียนรู้อิงมาตรฐาน ที่เป็นองค์ประกอบของการกำหนดตัวชี้วัด
ก. มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด สาระสำคัญ สาระการเรียนรู้ ,สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน คุณลักษณะอันพึงประสงค์
4. ทำไมต้องเรียนสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
ง. เพื่อให้ผู้เรียนปรับตัวเข้ากับสภาพแวดล้อม เข้าใจการเปลี่ยนแปลง มีความอดทน อดกลั้นยอมรับความแตกต่าง มีคุณธรรม ดำเนินชีวิตเป็นพลเมืองดีของประเทศชาติและสังคมโลก
5. ในการออกแบบเครื่องมือวัดผลและประเมินผลตามสภาพจริงผู้สอนควรดำเนินการอย่างไร
ก. วิเคราะห์หลักสูตรจุดประสงค์การเรียนรู้
6. การจัดทำหน่วยการเรียนรู้ที่ดีผู้สอนควรมีบทบาทสำคัญอย่างไร
ง. ผู้สอนควรเริ่มจากการวิเคราะห์มาตรฐาน/ตัวชี้วัดชั้นปีพัฒนาผู้เรียนสู่เป้าหมาย
7. ข้อใดต่อไปนี้มีความเชื่อมโยงสัมพันธ์กันมากที่สุด
ค. มาตรฐาน/ตัวชี้วัด ภาระงาน
8. สาระการเรียนรู้แกนกลางกำหนดหัวข้อให้ “ เรียนรู้เรื่องกิจกรรมต่างๆ เพื่อส่งเสริมประชาธิปไตยในท้องถิ่นและประเทศชาติ ” ผู้สอนต้องกำหนดจุดประสงค์การเรียนรู้อย่างไร
ค. จุดประสงค์การเรียนรู้ที่ประกอบด้วยความรู้ ทักษะ และเจตคติ
9. การประเมินสภาพจริง เป็นการประเมินจากการวัด ผู้เรียนลงมือปฏิบัติจริงในสถานการณ์จริงจากการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แต่ละ ครั้ง การประเมินผลงาน/ชิ้นงานควรมีลักษณะอย่างไร
ข. ประเมินผลงาน/ชิ้นงานทุกครั้ง ต้องกำหนดคุณภาพงาน ตามระดับคะแนน
10. “ปฏิบัติตนตามหลักคำสอนของศาสนาที่ตนนับถือ เพื่อการอยู่ร่วมกันเป็นชาติได้อย่างสมานฉันท์เป็นตัวชี้วัดชั้นปีใดในมาตรฐานใด
ค. มาตรฐาน ส1.1 ป 4/7
11. การออกแบบกิจกรรมควรวิเคราะห์ความสอดคล้องสัมพันธ์อะไรเป็นสำคัญบ้าง
ค. วิเคราะห์ความสอดคล้องสัมพันธ์ของมาตรฐานและตัวชี้วัดที่กำหนด
12. ขั้นตอนสำคัญที่ผู้สอนต้องนำหลักสูตรสู่ผู้เรียนคือขั้นตอนใด
ค. ขั้นตอนการจัดทำหน่วยการเรียนรู้
13. คำว่า สังคมศาสตร์ กับ สังคมศึกษา” เหมือนหรือต่างกันอย่างไร
ข. ต่างกัน เพราะสังคมศาสตร์เป็นการศึกษาความสัมพันธ์ของมนุษย์โดยใช้กระบวนการวิทยา ศาสตร์ แต่สังคมศึกษา เป็นการเรียนรู้เพื่อพัฒนาตนเองให้อยู่ร่วมกันในสังคมได้อย่างมีคุณภาพ
14. การจัดทำหน่วยการเรียนรู้เพื่อพัฒนาผู้เรียนในกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรมควรเป็นหน่วยการเรียนรู้อย่างไร
ค. หน่วยการเรียนรู้ที่ผู้สอนเป็นผู้จัดทำโดยวิเคราะห์จากสาระการเรียนรู้แกนกลาง และสะท้อนภาพรวมของท้องถิ่น
15. สาระการเรียนรู้แกนกลางหัวข้อ “การใช้สิทธิออกเสียงเลือกตั้งตามระบอบประชาธิปไตย” เป็นสาระการเรียนรู้แกนกลางระดับชั้นปีใดในมาตรฐานและตัวชี้วัดใด
ค. ชั้นประถมศึกษาปีที่ มาตรฐาน ส2.2 ป 6/3
16. หากตัวชี้วัดกำหนดให้ อธิบายบทบาทของผู้บริโภคที่รู้เท่าทัน” ผู้เรียนควรรู้อะไร
ก. เรียนรู้เรื่องคุณสมบัติของผู้บริโภคที่ดี พฤติกรรมของผู้บริโภคที่บกพร่อง คุณค่าและประโยชน์ของผู้บริโภคที่รู้เท่าทันตนเอง ครอบครัวและสังคม
17. การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ส่งเสริมให้ผู้เรียนเป็นผู้มีจิตสาธารณะนั้น ผู้สอนจะสามารถประเมินได้อย่างไร
ข. วิเคราะห์พฤติกรรมบ่งชี้ กำหนดระดับคะแนนความพึงพอใจ
18. มาตรฐาน ส 3.2 “เข้าใจระบบและสถาบันทางเศรษฐกิจต่าง ๆ ความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจและความจำเป็นของการร่วมมือกันทางเศรษฐกิจในสังคม” คุณภาพผู้เรียนเมื่อจบชั้นประถมศึกษาปีที่ ควรมีคุณภาพอย่างไร
ก. รู้จักการออมขั้นต้นและวิธีการเศรษฐกิจพอเพียง
19. “กระบวนการในการแสวงหาข้อเท็จจริงทางประวัติศาสตร์ ซึ่งเกิดจากวิธีวิจัยเอกสารและหลักฐานอื่นๆ เพื่อให้ได้มาซึ่งองค์ความรู้ใหม่ทางประวัติศาสตร์บนพื้นฐานของความเป็นเหตุ เป็นผล” สอดคล้องกับการศึกษาข้อใด
ก. การศึกษาข้อมูลโดยวิธีการทางประวัติศาสตร์
20. การออกแบบหน่วยการเรียนรู้ในกลุ่มสาระการเรียนรู้ครบตามเวลาเรียนกำหนดแล้ว ผู้สอนควรตรวจสอบข้อมูลใด เพื่อให้การสอนมีประสิทธิภาพสูงสุด
ข. จัดทำตารางตรวจสอบตัวชี้วัดของกลุ่มสาระการเรียนรู้ทั้งหมดกันการตกหล่น


02122. สังคมศึกษา
1. ขั้นตอนที่สำคัญที่สุดในการนำหลักสูตรสู่การปฏิบัติคือข้อใด
ข. การจัดทำหน่วยการเรียนรู้
2. การเรียนรู้โดยใช้รูปแบบกรณีศึกษาของผู้เรียนในข้อใดถูกต้อง
ข. นำกรณีตัวอย่างมาวิเคราะห์หรืออภิปราย
3. คำถามใดที่เร้าใจเพื่อให้ผู้เรียนได้ค้นคว้าเรื่องอาชีพในท้องถิ่นในสาระที่ 3เศรษฐศาสตร์
ง. ถูกทุกข้อ
4. การจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญในสาระหน้าที่พลเมือง วัฒนธรรม และการดำเนินชีวิตในสังคม สอดคล้องกับกิจกรรมในข้อใด
ข. ผู้เรียนดำเนินงานนิทรรศการส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์พลเมืองดีวิถีอาเซียน
5. รูปแบบการสอนแบบใดที่เหมาะกับการสอนเรื่อง โฮจิมินห์กับประเทศเวียดนามในสมัยสงครามโลกครั้งที่ 2”
ง. วิธีสอนโดยใช้สถานการณ์จำลอง
6. การจัดกิจกรรมแบบใดที่เอื้อต่อการจัดการเรียนรู้ในเรื่องการแก้ปัญหาสภาพท้องถิ่นมากที่สุด
ค. ทัศนศึกษาท้องถิ่นเพื่อศึกษาปัญหา
7. ข้อใดเป็นคำถามปลายเปิดในสาระศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม
ค. เพราะเหตุใดศาสนาคริสต์จึงเผยแผ่ไปกว้างขวางทั่วโลก
8. หลักฐานใดจัดเป็นหลักฐานชั้นต้นในสาระประวัติศาสตร์
ข. สารานุกรม
9. ลักษณะเนื้อหาความรู้ในสาระทางภูมิศาสตร์ข้อใดสัมพันธ์ถูกต้อง
ก. ภูมิศาสตร์ภูมิภาค – ภูมิศาสตร์ของพื้นที่
10. รูปแบบการเรียนรู้แบบใดที่สอดคล้องกับสาระที่ 3เศรษฐศาสตร์มากที่สุด
ง. การจัดทัศนศึกษา
11. กิจกรรมใดถือเป็นการมีส่วนร่วมในการจัดการเรียนรู้ทางการเมืองการปกครองระบอบประชาธิปไตยของผู้เรียน
ง. ข้อ ก และ ค ถูกต้อง
12. ข้อมูลต่อไปนี้ข้อใดสัมพันธ์กับสาระภูมิศาสตร๊น้อยที่สุด
ง. สังเคราะห์สำนวนภาษาถิ่น โครงสร้างของสังคม
13. ข้อมูลในข้อใดที่สอดคล้องกับสาระที่ 3เศรษฐศาสตร์
ก. ต้นฤดูหนาวความต้องการชุดกันหนาวสูงคุณคิดว่าจะเกิดอะไรขึ้นกับราคาชุดกันหนาว
14. ข้อความใดกล่าวถูกต้องเกี่ยวกับการจัดการเรียนรู้สาระภูมิศาสตร์
ก. สัตว์ประจำท้องถิ่น พืชพรรณธรรมชาติเกี่ยวข้องกับสาระภูมิศาสตร์
15. วิธีการทางภูมิศาสตร์ในข้อใดที่ไม่สัมพันธ์กัน
ค. การสัมมนา- เน้นบทบาทของผู้ควบคุมการสัมมนา
16. กิจกรรมการเรียนรู้ใดที่ไม่สอดคล้องกับการสอนสาระประวัติศาสตร์
ค. การท่องจำคำจำกัดความของหลักฐานทางประวัติศาสตร์
17. เพราะเหตุใดจึงต้องวิเคราะห์ผู้เรียนเป็นรายบุคคลก่อนจัดกระบวนการเรียนรู้
ค. วางแผนแยกกลุ่มการสอนตามความสามารถของผู้เรียน
18. เหตุการณ์ในข้อใดสอดคล้องสัมพันธ์กับธรรมชาติของวิชาสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรมที่ผู้เรียนจะต้องเรียนรู้
ง. ถูกทุกข้อ
19. ข้อมูลใดไม่สอดคล้องกับหลักฐานทางประวัติศาสตร์ที่ครูควรรู้จักเพื่อใช้สอนประวัติศาสตร์ไทย
ง. บันทึกการทำผิดกฎหมายจราจรของบุคคล
20. คำถามในข้อใดน่าจะทำให้ผู้เรียนใช้กระบวนการคิดในการสร้างสรรค์ความรู้ได้ มากกว่าข้ออื่น ๆในสาระหน้าที่พลเมือง วัฒนธรรม และการดำเนินชีวิตในสังคม
ง. การเรียนรู้สิทธิมนุษยชนจะช่วยสังคมได้



02123
1. การเลือกใช้สื่อจัดการเรียนการสอนที่การสอนเป็นแบบกลุ่มใหญ่พร้อมกัน เพื่อให้การถ่ายทอดจากผู้สอนไปสู่ผู้เรียน ด้วยอัตราความเร็วเดียวกัน ครูผู้สอนจำเป็นต้องคำนึงถึงสิ่งใดในการใช้สื่อมากที่สุด
ค. ขนาดของสื่อการเรียนการสอนต้องขนาดใหญ่และชัดเจน
2. บลูมและคณะ ได้แบ่งพฤติกรรมที่จะวัดผลการศึกษาไว้อย่างไร
ข. วัดด้านสมอง วัดด้านการปฏิบัติ และวัดด้านจิตใจ
3. สื่อการเรียนการสอนที่มีประสิทธิภาพ ก่อให้เกิดคุณค่าในลักษณะใดมากที่สุด
ก. ทำให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้อย่างมีประสิทธิภาพและเอาชนะข้อจำกัดต่าง ๆ ในการเรียนรู้ได้
4. หากท่านเป็นครูสอนวิชาพลศึกษา ระดับชั้น ป.หัวข้อเรื่อง การเคลื่อนไหวแบบอยู่กับที่ ท่านจะเลือกรูปแบบวิธีการสอนใดให้สอดคล้องเหมาะสมกับเนื้อหาและเกิดผลการ เรียนรู้กับผู้เรียนสูงสุดในด้านความรู้
ง. สอนโดยวิธีการปฏิบัติจริงและการประยุกต์ใช้
5. คุณภาพผู้เรียนด้านการเคลื่อนไหว เมื่อจบในระดับชั้น ป.และระดับชั้น ป.เหมือนหรือต่างกันอย่างไร
ก. เหมือนกัน คือ ระดับประถมศึกษาเป็นการเคลื่อนไหวขั้นพื้นฐาน
6. หน่วยการเรียนรู้หนึ่ง ถ้ามีมากกว่า 1มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด จะทำอย่างไรก่อนเพื่อที่จะพัฒนาผู้เรียนให้เกิดคุณภาพเป็นองค์รวมได้
ข. หลอมรวมแล้วเขียนเป็นสาระสำคัญ
7. ข้อใดไม่สอดคล้องกับการประเมินผลการใช้สื่อการเรียนการสอน
ก. ประเมินผลคุณภาพของสื่อที่ใช้
8. เหตุใดการเรียนสอนวิชาสุขศึกษาและพลศึกษา จึงต้องยึดหลักเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
ง. เอื้อต่อความสนใจของผู้เรียน ในการเลือกเรียนรู้ในหัวข้อที่ผู้เรียนมีความสามารถ
9. หน่วยการเรียนรู้อิงมาตรฐาน สำคัญอย่างไรต่อการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา
ค. เป็นส่วนที่นำมาตรฐานการเรียนรู้ไปสู่การปฏิบัติในการเรียนการสอน
10. จากการวิเคราะห์การออกแบบหน่วยการเรียนรู้แบบ Backward Design มีกระบวนการตามข้อใด
ก. กำหนดเป้าหมายการเรียนรู้ กำหนดหลักฐาน ออกแบบกระบวนการ/กิจกรรมการเรียนรู้
11. เหตุใดจึงต้องมีการกำหนด สาระและมาตรฐานการเรียนรู้ ในกลุ่มสาระสุขศึกษาและพลศึกษา
ก. เพื่อเป็นหลักในการกำกับดูแล ตรวจสอบและควบคุมคุณภาพของผู้เรียน
12. ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ.2551 ทำไมต้องเรียนสุขศึกษาและพลศึกษา
ค. เพื่อจะได้มีความรู้ ความเข้าใจ มีเจตคติ และมีทักษะปฏิบัติด้านสุขภาพจนเป็นกิจนิสัย
13. ในการสอนวิชาสุขศึกษาในระดับประถมศึกษานั้น เราควรเลือกรูปแบบวิธีการสอนที่เน้นเป้าหมายด้านใดเป็นสำคัญตามลำดับระดับ ประถมศึกษาปีที่ 1-4 ระดับประถมศึกษาปีที่ 5-6
ก. ป.1-4 คือ การปฏิบัติ เจตคติ ความรู้ ป.5-6 คือ เจตคติ การปฏิบัติ ความรู้
14. หากท่านได้สอนวิชาพลศึกษา เรื่อง การส่งบอลระดับอกแบบ คนอ้อมหลัง ท่านจะเลือกใช้สื่อประเภทใดประกอบการสอน เพื่อให้ผู้เรียนเข้าใจ Concept ของการปฏิบัติมากที่สุด
ข. สื่อประเภท วีดีทัศน์ประกอบการบรรยาย
15. การวิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดในการจัดทำหน่วยการเรียนรู้ ต้องแยกเนื้อหาการวิเคราะห์เป็นอย่างไร
ก. ความรู้ ทักษะ/กระบวนการ คุณลักษณะ สาระท้องถิ่น
16. การวัดและประเมินผลทางสุขศึกษาและพลศึกษาต้องมีการวัดครอบคลุมส่วนใดบ้าง
ง. ความรู้ ทักษะ สมรรถภาพ คุณธรรม จริยธรรมและคุณลักษณะที่พึงประสงค์
17. เป้าหมายสูงสุดของวิสัยทัศน์การเรียนการสอน กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา คือข้อใด
ง. พัฒนาผู้เรียนให้มีสุขภาพที่ดีอย่างยั่งยืน
18. หากท่านจะสร้างแบบทดสอบแบบอัตนัยหรือความเรียง ท่านมีหลักในการสร้างอย่างไร
ก. เขียนคำชี้แจงให้ชัดเจน ถามเฉพาะจุดที่สำคัญของเรื่อง แต่ละข้อมีความยากง่ายต่างกัน
19. รูปแบบและวิธีการสอน สำคัญอย่างไรต่อการจัดการเรียนการสอนวิชาสุขศึกษาและพลศึกษา
ง. นำไปใช้สอนในห้องเรียน เพื่อให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ตามจุดมุ่งหมายที่กำหนดไว้
20. หากท่านทดสอบทักษะการเลียนแบบท่าทางของสัตว์ตามจินตนาการของนักเรียนชั้น ป.ท่านจะใช้เครื่องมือวัดประเมินผลใดให้สอดคล้องกับทักษะ
ค. แบบสังเกต



02124  กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา
1. ข้อใด ไม่ เป็นแนวทาง กระตุ้นให้ผู้เรียนรักและศรัทธาในการเล่นกีฬา
ก. ครูสอนกีฬาที่ตนเองถนัด
2. การจัดการเรียนการสอนBrain Based Learning (BBL ) ให้ความสำคัญเรื่องใด
ง. ช่วงอายุของนักเรียน
3. คุณธรรมที่สำคัญและต้องปลูกฝังในการเรียนรู้รายงวิชาพลศึกษาคือข้อใด            
ง. ความมีน้ำใจนักกีฬา
4. ข้อใดเกี่ยวข้องกับการผลิตสื่อทางพลศึกษาที่ถูกต้องที่สุด
ข. นักเรียนร่วมกันกับครูจัดทำสนามบาสเกตบอลจำลอง
5. เกณฑ์สำหรับการให้คะแนนการปฏิบัติงานควรประกอบด้วยอะไรบ้าง
ง. เกณฑ์การพิจารณา ระดับคุณภาพ และคำอธิบายคุณภาพ
6. ข้อใดเป็นวิสัยทัศน์ของสุขศึกษาและพลศึกษา
ข. เป็นการศึกษาด้านสุขภาพที่มีเป้าหมาย เพื่อการดำรงสุขภาพ การเสริมสร้างสุขภาพ รวมทั้งการพัฒนาคุณภาพชีวิตของบุคคล ครอบครัว และชุมชนให้ยั่งยืน
7. ข้อใด ไม่ใช่ สมรรถนะสำคัญของผู้เรียนตาม หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ.2551
ง. ความสามารถในการใช้คอมพิวเตอร์
8. ข้อใดเป็นการกล่าวถึงแนวคิดการสอนสุขศึกษาที่ไม่ถูกต้อง
ก. การสอนสุขศึกษาเป็นกระบวนการที่ต่อเนื่องและสัมพันธ์กัน
9. การออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ควรลำดับอย่างไร
ข. ขั้นนำเข้าสู่บทเรียน-ขั้นสอน/ถ่ายทอดการเรียนรู้และขั้นสรุป
10. การสอนสุขศึกษาและพลศึกษา ในชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4-6 ควรจัดลำดับการเรียนรู้อย่างไร 
ก. ความรู้ ทักษะ เจตคติ
11. การสร้างวินัยเชิงบวกในการจัดการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษาเป็นการพัฒนาด้านใด    
ก. ด้านพฤติกรรมมนุษย์
12. ข้อใดเป็นการออกแบบการเรียนรู้แบบย้อนกลับ (Backward Design)
ข. มาตรฐาน/ตัวชี้วัด- ออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ -กำหนดวิธีวัดและประเมินผล
13. ถ้าท่านต้องการทราบความรู้สึกต่อเรื่องต่างๆ ของเด็กที่ทำให้ได้รายละเอียดของข้อมูล ควร ใช้เทคนิคใดเหมาะสมที่สุด
ข. สัมภาษณ์
14. นวัตกรรม มาจากภาษาอังกฤษคำว่า
ข. Innovation
15. ข้อใดคือวิสัยทัศน์ของหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ.2551
ข. มุ่งพัฒนาผู้เรียนทุกคน ฯ
16. ขั้นตอนแรกของการจัดทำหน่วยการเรียนรู้ คือข้อใด
ง. ระบุมาตรฐานการเรียนรู้ / ตัวชี้วัด
17. จุดมุ่งหมายของการเรียนรู้แต่ละบทเรียน สิ่งที่ผู้เรียนจะได้รับหลังจากบทเรียนคือ
ข. ทักษะและความสามารถ
18. ข้อใดเป็นเป้าหมายการสอนสุขศึกษา
ง. การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมสุขภาพ
19. เทคนิคใดเหมาะสมที่สุดที่จะทำให้เราทราบว่าเด็กๆ มีความสามารถจริงในการทำงานหรือกิจกรรมนั้น
ข. ทดสอบการปฏิบัติ
20. ในการประเมินกระบวนการการทำงานกลุ่ม ควรกำหนดรายการประเมินใดบ้าง
ค. การวางแผน การลงมือปฏิบัติ การนำเสนองาน ลักษณะนิสัยในการทำงาน

02125 การศึกษาพิเศษ
1. เกณฑ์การแปลผลคะแนนที กลุ่ม ของแบบคัดกรองนักเรียนที่มีภาวะสมาธิสั้น บกพร่องทางการเรียนรู้ และออทิซึม KUS-SI Rating Scales : DHD/LD/Autism ( PDDs ) หมายถึง ข้อใด
• ง. กลุ่มที่ควรส่งแพทย์ เพื่อรับ การตรวจประเมินอย่างเร่งด่วน
2. การส่งต่อผู้เรียนที่จบการศึกษาแต่ละระดับ หรือย้ายสถานศึกษาสถานศึกษาควรดำเนินการตามข้อใด
• ก. นำส่งแผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล รายงานผลการประเมิน การดำเนินการตามแผน แฟ้มประวัติและแฟ้มสะสมผลการเรียนของผู้เรียน
3. ข้อใดไม่ถูกต้องตามกฎหมาย
• ง. สถานศึกษาใดปฏิเสธไม่รับคนพิการเข้าศึกษา ไม่ถือเป็นการเลือกปฏิบัติโดยไม่เป็นธรรมตามกฎหมาย
4. ข้อใดกล่าวถึงกระบวนการตอบสนองต่อการช่วยเหลือ (Response To Intervention: RTI)ได้ถูกต้อง
• ก. เป็นกระบวนการวิจัยในชั้นเรียนที่มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาศักยภาพนักเรียนพิการ
5. ข้อใดเป็นสิทธิทางการศึกษาของคนพิการใน มาตรา ตามพระราชบัญญัติการจัดการศึกษาสำหรับคนพิการ พ.ศ. 2551
• ข. ได้รับการศึกษาที่มีมาตรฐานตามหลักสูตรที่สถานศึกษาจัดทำสำหรับนักเรียนที่มีความต้องการจำเป็นพิเศษโดยเฉพาะ
6. ข้อใดเป็นเทคโนโลยี สิ่งอำนวยความสะดวกสำหรับคนเห็นเลือนราง
• ง. CCTV หรือ เครื่องช่วยขยายขนาดตัวอักษร
7. การเรียนร่วมเต็มเวลา หมายถึงอะไร
• ข. การเรียนร่วมตลอดเวลาและได้ร่วมกิจกรรมทุกกิจกรรม
8. ข้อใดคือหลักในการจัดกิจกรรมพัฒนาภาษาพูดในชีวิตประจำวัน
• ก. เลือกระดับภาษาที่เหมาะสมกับเด็ก
9. ข้อใดเป็นเทคโนโลยี สิ่งอำนวยความสะดวกสำหรับนักเรียนที่มีความบกพร่องทางการเรียนรู้ ทั้งหมด
• ก. ปากกาเน้นข้อความ เครื่องคิดเลข โปรแกรมเดาคำศัพท์
10. หน่วยงานใดมีหน้าที่ดำเนินการจัดการศึกษา โดยเฉพาะการจัดการเรียนร่วม การนิเทศ กำกับ ติดตาม เพื่อให้คนพิการได้รับการศึกษาอย่างทั่วถึงและมีคุณภาพ ตามที่กฎหมายกำหนด
• ค. สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา
11. ข้อใดเป็นข้อบ่งชี้ที่แตกต่างกันของบุคคลที่มีความบกพร่องทางการเรียนรู้กับบุคคลบกพร่องทางสติปัญญา
• ค. ระดับเชาวน์ปัญญา
12. บุคคลที่มีความบกพร่องทางการได้ยิน คือ คนที่สูญเสียการได้ยินระดับใด
• ก. ตั้งแต่ 26 เดซิเบล ขึ้นไป
13. ข้อใดให้ความหมายของการสื่อสารทางเลือกได้ถูกต้อง
• ง. การสื่อสารโดยการใช้วิธีการหลากหลายทั้งภาษาท่าทาง ภาษามือ และภาษาพูด
14. ข้อใดไม่ใช่หลักของจิตวิทยาพัฒนาการ
• ก. ดำเนินไปในทิศทางจากปลายเท้าสู่ศีรษะ
15. ข้อใดคือบทบาทของครูในการนำหลักสูตรไปใช้
• ข. แปลงหลักสูตรไปสู่การปฏิบัติ
16. นักเรียนบกพร่องทางการเรียนรู้ด้านการอ่าน การเขียน ครูควรอำนวยความสะดวก (Accommodation) ในการทำข้อสอบของนักเรียนอย่างไร
• ข. การทำเครื่องหมายลงในข้อสอบแทนการทำลงในกระดาษคำตอบ
17. การเรียนร่วม หมายถึงอะไร
• ง. การที่เด็กที่มีความต้องการพิเศษได้เรียนร่วมกับเด็กปกติโดยคำนึงถึงความสามารถและความต้องการจำเป็นของแต่ละบุคคล
18. ข้อใดเป็นลำดับพัฒนาการด้านความเข้าใจภาษาตามลำดับของเด็กทั่วไป
• ค. สนใจเสียงพูด ทำตามคำสั่งง่ายๆ เข้าใจประโยค ชี้อวัยวะ
19. ข้อใดกล่าวถูกต้องเกี่ยวกับแผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล (IEP)
• ค. ให้สถานศึกษาในทุกสังกัดจัดทำแผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคลโดยให้สอดคล้องกับความต้องการจำเป็นพิเศษของคนพิการ
20. บุคคลเห็นเลือนราง หมายถึง ข้อใด
• ง. ตรวจวัดความชัดเจนของสายตาข้างดีเมื่อแก้ไขแล้วอยู่ในระดับ ส่วน 18


02126   การศึกษาปฐมวัย
1. องค์ประกอบที่สำคัญในการประกันคุณภาพเป็นสถานศึกษาปฐมวัยตามเกณฑ์ของ สพฐ. มีกี่ด้าน
ข. ด้าน
2. ข้อใดที่ไม่ถูกต้องตามหลักการประเมินตามสภาพจริง (Authentic Assessment)
ข. เป็นการประเมินจากคะแนนที่ได้จากการทดสอบ
3. ข้อใดเป็นความที่ไม่สอดคล้องเป็นการประเมินพัฒนาการเด็กปฐมวัย
ก. ทำการทดสอบข้อเขียน เพื่อความคุ้นเคยเมื่อขึ้นระดับประถม
4. ร่องรอยหลักฐานใดที่ไม่ได้เป็นสารนิทัศน์ที่ครูปฐมวัยพึงจัดทำ
ก. ผลคะแนนสอบ
5. การจัดประสบการณ์การเรียนรู้วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ ที่เหมาะสมให้แก่เด็กปฐมวัยจะช่วยพัฒนาศักยภาพผู้เรียนในด้านใด
ค. ด้านความตระหนักรู้โลกธรรมชาติรอบตัว และพัฒนาการทั้ง ด้าน
6. การจัดกิจกรรมการเรียนโดยให้เด็กได้ฝึกปฏิบัติและเรียนรู้จากประสบการณ์จริง เป็นการจัดกิจกรรมที่อาศัยองค์ความรู้ใด
ข. ธรรมชาติการเรียนรู้ของสมอง
7. การกำหนดจุดประสงค์ สาระที่ควรรู้ ประสบการณ์สำคัญ ตลอดจนการประเมินพัฒนาการในการจัดกิจกรรมเรียนรู้วิทยาศาสตร์นั้น ได้จากการวิเคราะห์
ค. ตัวชี้วัดของแต่ละมาตรฐานการเรียนรู้
8. จากการกำหนดให้มีสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ทั้งสิ้น สาระ สืบเนื่องเชื่อมโยงกับแนวคิดใดเป็นสำคัญ       
ง. ถูกทุกข้อ
9. คำถามระดับสูงคือคำถามประเภท
ข. คำถามให้เปรียบเทียบ
10. การปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษที่สอง มีวิสัยทัศน์ที่ต้องการให้คนไทยได้เรียนรู้ตลอดชีวิตอย่างมีคุณภาพ ข้อใดที่ไม่ใช่ความหมายที่ถูกต้อง
ก. คนไทยได้เรียนฟรีทุกระดับชั้นตลอดชีวิต
11. แฟ้มสะสมงานลักษณะใดที่เหมาะกับการประเมินตามสภาพจริง
ก. แฟ้มสะสมงานที่รวบรวมผลงานที่บ่งบอกจุดเด่นและจุดด้อย
12. นโยบายปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษที่สอง เป็นระยะเวลาในช่วงใด
ข. พ.ศ. 2552 – 2561
13. ขั้นตอนการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ในชั้นเรียนปฐมวัยที่ถูกต้องคือ 
ค. ตั้งคำถาม สำรวจ รวบรวมข้อมูล สร้างคำอธิบาย นำเสนอผล
14. การออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้จากหน่วยการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ สามารถออกแบบบูรณาการในลักษณะ
ง. ถูกทุกข้อ
15. วิธีการถามคำถามที่ดี คือ
ข. คำถามที่เข้าใจง่ายไม่ซ้อนคำถาม
16. นักเรียนที่มีทักษะทางวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ดีมักประสบความสำเร็จในการเรียนวิชาอื่น ๆ ร่วมด้วยเป็นเช่นนี้เพราะ 
ค. ได้ฝึกคิดที่หลากหลายและเรียนรู้ผ่านการปฏิบัติอย่างเป็นระบบ
17. นโยบายและยุทธศาสตร์การขับเคลื่อนการ ปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษที่สอง ด้านการพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาและเรียนรู้ข้อใดที่ครูผู้ปฏิบัติการ มีส่วนเกี่ยวข้องและมีบทบาทในการขับเคลื่อนครั้งนี้
ง. ปรับเปลี่ยนหลักสูตรการเรียนการสอน การวัดและประเมินผลทุกระดับ
18. เครื่องมือที่เหมาะสมกับการประเมินเจตคติของคณิตศาสตร์คือ
ข. แบบสัมภาษณ์
19. ปัจจัยที่แสดงให้เห็นคุณภาพการศึกษาในการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาปฐมวัย ตามเกณฑ์ของ สพฐ. ประกอบด้วยด้านใด
ง. คุณภาพผู้เรียน การจัดการศึกษา สังคมแห่งการเรียนรู้ อัตลักษณ์การศึกษา ด้านการส่งเสริม
20. จุดเน้นการจัดการศึกษาเพื่อพัฒนากลุ่มเป้าหมายเด็กปฐมวัยข้อใดที่เป็นหน้าที่โดยตรงของครูปฐมวัย
ก. เด็กอายุ ปี ทุกคนได้รับการคิดกรองพัฒนาการและการช่วยเหลือตั้งแต่แรกเริ่ม


02127  การจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
1. ข้อใดไม่ใช่คุณลักษณะผู้เรียน  ในรูปแบบความคิดสร้างสรรค
ค. การไม่สนใจในความคิดของผู้อื่น
2. จุดเด่นของรูปแบบการจัดการเรียนรู้  แบบส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์  คือข้อใด
ง. ถูกทุกข้อ
3. “นารีตั้งใจจะไปซื้อของในห้างสรรพสินค้าแต่ฝนตก  จึงเปลี่ยนใจเป็นลักษณะการคิดแบบ
ค. การคิดยืดหยุ่น
4. “ครูสมศรีจัดทำแผนการเรียนการสอนได้ดีที่สุด” เพราะเหตุใดข้อใด
ค. กิจกรรมสัมพันธ์กับเนื้อหา
5. ใครมีพฤติกรรมสอดคล้องกับรูปแบบความคิดเชิงสร้างสรรค์
ก. ยาดามีความคิดแบบอเนกนัย
6. Stimulus  เป็นสถานการณ์ลักษณะใด
ค. เร้าความสนใจ
7. ข้อใดกล่าวถึงทฤษฎีการเรียนรู้ได้เหมาะสม
ง. กระบวนการเปลี่ยนพฤติกรรม
8. ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้องเกี่ยวกับความคิดสร้างสรรค์
ก. ความคิดที่ไม่จำกัดเหตุผล
9. ข้อใดเป็นการเรียนรู้ระดับสูง
ค. การประเมินค่า
10. ครูปรีชากระตุ้นให้ผู้เรียนตั้งคำถามจากภาพให้ได้มากที่สุด ในเวลาที่กำหนดข้อใดกล่าวถูกต้อง
ก. ครูปรีชาฝึกการคิดคล่อง
11. พฤติกรรมในข้อใดเป็นการจูงใจผู้เรียน
ง. การเสริมแรง
12. ข้อใดไม่ถูกต้อง
ง. การกำหนดเวลาตายตัวช่วยให้คิดสร้างสรรค์
13. การวัดผลตามแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ต้องสัมพันธ์กับข้อใด
ง. จุดประสงค์ของการเรียน
14. ข้อคำนึงในการใช้เกม  เพื่อจัดการเรียนรู้คือข้อใด
ข. กติกา
15. ข้อใดกล่าวถึงสื่อการสอนไม่ถูกต้อง
ง. ทำให้การสอนช้าลง
16. ข้อใดไม่ใช่แนวคิดตามทฤษฎีของมาสโลว์  (maslow)
ง. ความต้องการเป็นผู้นำ
17. พฤติกรรมใดไม่สอดคล้องกับการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ             
ง. ครูกำหนดประเด็นตามกรอบตายตัว
18. ขั้นสุดท้ายที่ผู้เรียนภูมิใจกับรูปแบบการจัดการแบบความคิดสร้างสรรค์คือข้อใด
ข. ทำเสนอผลงาน
19. ตัวบ่งชี้ต่อไปนี้  จำแนก  เปรียบเทียบ  ให้เหตุผลสอดคล้องกับพฤติกรรมใด
ง. การวิเคราะห์
20. ข้อใดกล่าวถึงสื่อได้เหมาะสมที่สุด
ง. เชื่อมโยงการเรียนรู้


02128 การจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ การเรียนรู้แบบโครงงาน17/20 post-test
1. แหล่งเรียนรู้ใดเหมาะกับการจัดการเรียนรู้แบบโครงงาน
ค. สวนสมุนไพร สวนสาธารณะ
2. การจัดการเรียนรู้แบบโครงงาน มีลักษณะตรงกับข้อใด
ข.ทุกคนมีส่วนร่วมและเรียนรู้
3. การจัดการเรียนรู้แบบโครงงาน ใช้ประยุกต์ในกลุ่มสาระการเรียนรู้ใด
ก. ทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้
4. ส่วนใดส่งผลต่อการจัดการเรียนรู้แบบโครงงาน มากที่สุด
ข. แหล่งเรียนรู้ต่าง 
5. การเขียนรายงานโครงงานแบบการนำเสนอผลงานอยู่ในขั้นตอนใด
ค. ขั้นปฏิบัติ
6. การจัดการเรียนรู้แบบโครงงานเปรียบได้กับสิ่งใด
ข. การสร้างบ้าน
7. การจัดการเรียนรู้แบบโครงงานต่างจากการจัดการเรียนรู้แบบทั่วไปอย่างไร
ง. ผู้เรียนเป็นผู้ลงมือปฏิบัติตามสิ่งที่สนใจ
8. ใครเป็นผู้คิดหัวข้อโครงงาน
ข. ผู้เรียน
9. การจัดการเรียนรู้แบบโครงงานเหมาะกับการจัดการเรียนรู้ชั้นใด
ง. ทุกช่วงชั้น
10. ทำไมจึงกล่าวว่าการจัดการเรียนรู้แบบโครงงานเป็นการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
ค. นักเรียนเป็นผู้ปฏิบัติ ครูเป็นเพียงที่ปรึกษา
11. เหตุการณ์ต่อไปนี้อยู่ในขั้นตอนใด การจัดการเรียนรู้แบบโครงงาน ครูกำหนดสถานการณ์ให้ผู้เรียนสังเกตรังมดแดงแล้วซักถาม
ก. ขั้นนำเสนอ
12. ขั้นตอนใดในการจัดการเรียนรู้แบบโครงงานที่ครูมีส่วนร่วมน้อยที่สุด
ค. ขั้นปฏิบัติ
13. เหตุการณ์ใดต่อไปนี้ตรงกับขั้นตอนการวางแผน
ข. กลุ่มของโด่งระดมสมองคิดหาอุปกรณ์ทดลอง
14. ส่วนใดส่งผลต่อการจัดการเรียนรู้แบบโครงงานมากที่สุด
ข. แหล่งเรียนรู้ต่าง ๆ
15. โครงงานเรื่องใดตรงกับประเภทสำรวจ
ข. ลิงชนิดใดมีหางยาวที่สุด
16. โครงงานประเภททดลองต่างจากประเภทสำรวจอย่างไร
ข. โครงงานสำรวจไม่มีตัวแปรที่ศึกษา
17. แนวทางการจัดการเรียนรู้แบบโครงงานมีจุดเด่นอย่างไร
ก. ผู้เรียนลงมือปฏิบัติเพื่อค้นหาคำตอบด้วยตนเอง
18. สิ่งใดเป็นส่วนสำคัญในการแสวงหาความรู้ในการปฏิบัติโครงงาน
ข. ทักษะกระบวนการด้านต่าง ๆ
19. โครงงานเป็นการเรียนรู้ที่เชื่อมโยงการคิดของ บลูม (Bloom) ด้านใดบ้าง
ง. ความรู้ ความจำ ความเข้าใจ การนำไปใช้การวิเคราะห์ สังเคราะห์และการประเมินค่า
20. แนวทางการจัดการเรียนรู้แบบโครงงานช่วยครูให้มีการปฏิรูปการเรียนรู้อย่างไร
ง. การเรียนรู้ของผู้เรียนเก่งคิด-เก่งทำ-เก่งทีม


02129 การจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
1.การจัดการเรียนรู้แบบใช้ปัญหาเป็นฐานพัฒนาขึ้นครั้งแรกที่คณะใดของมหาวิทยาลัยแมคมาสเตอร์
– คณะวิทยาศาสตร์สุขภาพ
2. ปัญหา มีความสำคัญต่อการจัดการเรียนรู้อย่างไร
– เป็นตัวกระตุ้นให้เกิดกระบวนการเรียนรู้
3. ผู้เรียนเรียนรู้โดยการนำตนเองหมายถึงข้อใด
– ถูกทุกข้อ
4. การเรียนรู้เป็นกลุ่มย่อยมีประโยชน์อย่างไร
– ได้พัฒนาทักษะการทำงานเป็นทีม
5. ปัญหาใดไม่เหมาะกับการเรียนรู้แบบใช้ปัญหาเป็นฐาน
– ปัญหาที่หาคำตอบได้ง่าย
6. ผู้สอนควรจัดสถานการณ์กระตุ้นยั่วยุ ให้กับผู้เรียนในขั้นตอนใดของการจัดการเรียนรู้
– ขั้นกำหนดปัญหา
7.ผู้สอนใช้คำถามละเอียดให้ผู้เรียนคิดต่อในขั้นตอนใดของการจัดการเรียนรู้
– ขั้นทำความเข้าใจกับปัญหา
8.ขั้นทำความเข้าใจกับปัญหาผู้เรียนต้องทำสิ่งใด
– กำหนดแนวทางการค้นหาคำตอบ
9. ขั้นดำเนินการศึกษาค้นคว้า ผู้สอนมีบทบาทอย่างไร
– คอยอำนวยความสะดวกให้กับผู้เรียน
10. ผู้เรียนแยกกันไปศึกษาค้นคว้า เมื่อได้ความรู้แล้วนำกลับมาเสนอภายในกลุ่ม อยู่ในขั้นตอนใดของการจัดการเรียนรู้แบบใช้ปัญหาเป็นฐาน
– ขั้นดำเนินการศึกษาค้นคว้า
11.ถ้าข้อมูลความรู้ที่หามาได้นั้นยังไม่เพียงพอ ต้องไปหาความรู้เพิ่มเติมในขั้นตอนใด
– ขั้นสังเคราะห์ความรู้
12.ในขั้นสรุปและประเมินค่าของคำตอบผู้สอนควรมีบทบาทอย่างไร
– ตรวจสอบการประมวลสร้างองค์ความรู้ใหม่
13.ขั้นสรุปและประเมินค่าของคำตอบ ผู้เรียนมีบทบาทอย่างไร
– นำข้อมูลที่ได้ทั้งหมดมาประมวลเป็นองค์ความรู้ใหม่
14.ในขั้นสุดท้ายของการจัดการเรียนรู้แบบใช้ปัญหาเป็นฐาน ผู้เรียนต้องทำสิ่งใด
– นำเสนอผลงาน
15. ข้อใดคือประโยชน์ของการจัดการเรียนรู้แบบใช้ปัญหาเป็นฐาน
– ถูกทุกข้อ
16.คำถามที่ผู้สอนใช้เพื่อให้ผู้เรียนกำหนดปัญหาควรมีลักษณะใด
– เป็นคำถามที่ท้าทาย กระตุ้นความสนใจ
17. การจัดการเรียนรู้แบบใช้ปัญหาเป็นฐาน ผู้เรียนจะใช้แหล่งเรียนรู้อย่างหลากหลาย ผู้สอนควรทำอย่างไร
– ประสานผู้เกี่ยวข้องกับแหล่งเรียนรู้ที่ผู้เรียนต้องการ
18. ผู้เรียนควรมีลักษณะอย่างไรจึงจะเรียนรู้แบบใช้ปัญหาเป็นฐานได้ดี
– ถูกทุกข้อ
19.บทบาทผู้เรียนในรูปแบบการใช้ปัญหาเป็นฐานคือข้อใด
– ถูกทุกข้อ
20.บทบาทที่สำคัญของผู้สอน ในการจัดการเรียนรู้แบบใช้ปัญหาเป็นฐานคือข้อใด
– เป็นผู้อำนวยความสะดวกในการเรียนรู้



02130 การจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
1. ข้อใดคือจุดประสงค์หลักที่จัดแหล่งเรียนรู้หรือสร้างแหล่งเรียนรู้ขึ้นภายในโรงเรียน
ค. เพื่อเป็นแหล่งศึกษาหาความรู้ได้ตลอดเวลาและรวดเร็ว
2. ขั้นการประเมินผลการเรียนรู้ ใครไม่มีส่วนร่วมในการประเมิน
ก. ผู้บริหาร
3. การใช้แหล่งเรียนรู้ทางทะเลมีประโยชน์ต่อมนุษย์ด้านใดมากที่สุด            
ง. ด้านการรักษาความสมดุลทางธรรมชาติ
4. การจัดการเรียนรู้จากแหล่งเรียนรู้ มีลักษณะอย่างไร
ง. ถูกทุกข้อ
5. ข้อใด ไม่ใช่ความสำคัญของการจัดการเรียนรู้จากแหล่งเรียนรู้  
ข. ลดภาระครูให้เตรียมการสอนน้อยลง
6. ข้อใดคือจุดประสงค์ของการศึกษาเรียนรู้นอกสถานที่ 
ง. ถูกทุกข้อ
7. ก่อนไปศึกษานอกชั้นเรียน ครูผู้สอนควรปฐมนิเทศผู้เรียนในเรื่องใด
ง. ถูกทุกข้อ
8. ก่อนไปศึกษาแหล่งเรียนรู้นักเรียนควรมีความรู้ความเข้าใจเรื่องใด
ง. ถูกทุกข้อ
9. ข้อใดเป็นวิธีการที่ใช้แหล่งเรียนรู้ที่ไม่ถูกต้อง
ง. การใช้แหล่งเรียนรู้ต้องฝึกปฏิบัติ ทดลองและให้ผู้เรียนได้ปฏิบัติจริง
10. ข้อใดกล่าวถูกต้องที่สุดในการนำแหล่งเรียนรู้และภูมิปัญญาท้องถิ่นมาใช้ในกระบวนการเรียนการสอน
ข. ผู้เรียนเป็นคนดี คนเก่ง และมีความสุขกับการเรียน
11. ข้อใดไม่ใช่การหาความรู้จากการศึกษาแหล่งเรียนรู้
ค. จดบันทึกทันทีเมื่อกลับถึงบ้าน
12. จุดประสงค์หลักการจัดการเรียนรู้จากแหล่งการเรียนรู้
ง. ถูกทุกข้อ
13. บทบาทของครูในข้อใดไม่ถูกต้องในการจัดการเรียนการสอนโดยใช้แหล่งเรียนรู้
ก. จัดการเรียนรู้โดยใช้กระบวนการวิจัย เพื่อการพัฒนาและปรับปรุงการจัดการเรียนการสอน
14. มีเหตุผลและความจำเป็นอย่างไรจึงมีการนำแหล่งเรียนรู้และภูมิปัญญาท้องถิ่นเข้า มามีบทบาทในการเรียนการสอนปัจจุบัน
ง. ถูกทั้ง ก ข และ ค
15. ข้อใดเป็นการรักษาดุลแห่งธรรมชาติที่ดีที่สุด
ค. การกำหนดเขตป่าสงวน
16. ข้อใด ไม่ใช่การหาความรู้และประสบการณ์จากการทัศนศึกษา
ค. กลับถึงบ้านแล้วจดบันทึกทันที
17. ใครควรแสดงบทบาทการเลือกรูปแบบและวิธีการนำเสนอผลงาน
ข. ผู้เรียน
18. เราควรปฏิบัติอย่างไร จึงเรียกว่าเป็นการอนุรักษ์ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมที่ดีที่สุด
ข. หน่วยราชการร่วมมือกับคนชุมชนอนุรักษ์ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
19. ข้อใด ไม่ใช่การหาความรู้และประสบการณ์จากการทัศนศึกษา
ค. กลับถึงบ้านแล้วจดบันทึกทันที
20. ความหมายของคำว่า ภูมิปัญญาไทย” คือข้อใด
ง. องค์ความรู้ในด้านต่างๆของการดำรงชีวิตของคนไทยที่เกิดจากการสะสมประสบการณ์ทั้งทางตรงและทางอ้อม

tq 02201-02202-02301-02302-02303-02304




02201 การนิเทศแนวใหม่
1. ข้อใดเป็นการนิเทศแนวไหม่
ผู้นิเทศและผู้รับการนิเทศร่วมพูดคุยปรึกษาหารือ...หาแนวทางแก้ปัญหา...ข้อมูลเชิงประจักษ์
2. การนิเทศการศึกษา...บุคลากรกลุ่มใด...การจัดการศึกษา
บุคลากรตามข้อ ก. ข และ ค...ทุกกลุ่ม
3. supervisor...in the classroom หมายถึงข้อใด
ผู้นิเทศและครูร่วมกันหาแนวทางพัฒนาศักยภาพผู้เรียน...รายบุคคล
4. ข้อใดที่ผู้นิเทศใช้...แบบ Reflective Coaching กับผู้รับการนิเทศ
ผู้นิเทศใช้คำถามนำการสนทนาและรับฟัง...อย่างตั้งใจ
5. กิจกรรมการนิเทศแนวไม่...ผลกระทบ...เป้าหมายใด
นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์...สูงขึ้น
6. ข้อใดเป็น"ข้อความสำคัญ" ของการนิเศแนวใหม่
ทุกข้อ...การนิเทศแนวใหม่
7. ในยุคความเปลี่ยนแปลง...social network ศึกษานิเทศ...ปรับเปลี่ยนตนเองอย่างไร
ทั้ง ก ข และ ค
8. กิจกรรมการนิเทศ...ผลลัพธ์(outcome) ที่เป้าหมายใด
นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงขึ้น
9. การนิเทศ online มีลักษณะสำคัญ...เกิดประโยชน์มากที่สุดอย่างไร
การได้รับประโยชน์จากแนวคิดและมุมมองที่หลากหลายแลกเปลี่ยนกัน
10. ขั้นตอนสำคัญของเทคนิคการนิเทศแบบ Reflective Coaching...ระยะเริ่มต้นคือ
การสร้างความคุ้นเคย
11. กิจกรรมใดที่เป็นตัวช่วยการนิเทศ...บรรลุเป้าหมาย
การใช้สื่อ ICT
12. การนิเทศแนวใหม่จะเกิดประโยชน์สูงสุด...ศึกษานิเทศเปลี่ยนแปลงตนเองอย่างไร
ทุกข้อคือสิ่งที่...คุณภาพการศึกษาของชาติ
13. กิจกรรมใด...กิจกรรมหลัก...การนิเทศแนวใหม่
ศึกษานิเทศทำงานร่วมกับครูในชั้นเรียน
14. การนิเทศแนวใหม่...สำเร็จได้...ได้รับการพัฒนาอย่างไร
พัฒนาตาม IDP ที่ตนเองกำหนดแผนการพัฒนาตนเองไว้แล้ว
15. การวิจัยเชิงปฏิบัติการในชั้นเรียน (PAOR) มีขั้นตอนใดสำคัญที่สุด...ในชั้นเรียน
การวางแผน(P) การลงมือปฏิบัติ (A)
16. การนิเทศแนวใหม่...ICT ของครูที่มีอายุากอย่างไร
จัดหาพี่เลี้ยงให้...ให้สามารถดำเนินการได้
17. การนิเทศแนวใหม่ใช้การวิจัยเป็นฐาน...:RBS) ข้อใดถูกต้อง
การใช้ข้อมูลปัจจุบันกำหนดเป็นปัญหา...แก้ปัญหาร่วมกัน...และครูผู้สอน
18. จากข้อความที่ว่า "ครูพัฒนาตนเอง...ลดน้อยลง"...ตรงกับความเป็นจริงมากที่สุด
ครูมีความรู้ความสามารถ...ศึกษานิเทศมืออาชีพ
19. กิจกรรมใดที่เป็นกระบบวนการหลัก...การนิเทศแนวใหม่
ศึกษานิเทศทำงานร่วมกับครูในชั้นเรียน
20. กิจกรรมการนิเทศแนวใหม่...ผลการเปลี่ยนแปลง(output) ที่เป้าหมายใด
พฤติกรรมการสอนของครู



02202 สมรรถนะหลักสำหรับศึกษานิเทศก์
1.ข้อใดคือ องค์ประกอบของคำว่า สมรรถนะ
• ค. ความรู้ ทักษะ เจตคติหรือแรงจูงใจ
2. “สมรรถนะการสื่อสารและแรงจูงใจ” ของศึกษานิเทศก์ สามารถชี้วัดได้จากพฤติกรรมข้อใด
• ค. มีความสามารถในการพูด และเขียนในโอกาสต่าง ๆ
3.ประโยชน์ของการวิจัยเพื่อการพัฒนาการนิเทศการศึกษา ตรวจสอบได้และมีหลักฐานยืนยันได้จากอะไร
• ค. ความถูกต้องตามหลักวิชาการ
4.จากคำกล่าวที่ว่า “ศึกษานิเทศก์จำเป็นต้องได้รับการพัฒนาสมรรถนะให้สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลง ของโลกาภิวัฒน์” มีกิจกรรมพัฒนาสมรรถนะศึกษานิเทศก์ในนโยบายของรัฐบาลตามข้อใดในระหว่างปี พ.ศ.2553 - 2555
• ง. ถูกทุกข้อ
5.ผลการวิจัยเชิงประเมินพบว่ากระบวนการออกแบบการสอนและการจัดการเรียนการสอน ขึ้นอยู่กับสมรรถนะของครูและสัมพันธ์กับสมรรถนะการนิเทศการเรียนรู้ของศึกษา นิเทศก์ มีค่าสัมประสิทธิสหสัมพันธ์เท่ากับ0.833 หมายความว่าอย่างไร
• ง. คุณภาพการออกแบบการเรียนการสอนมีความสัมพันธ์กับการนิเทศการเรียนรู้ของศึกษานิเทศก์ร้อยละ 83
6.การพัฒนาครูในระหว่างปฏิบัติงาน (In service Training) โดยใช้โรงเรียนเป็นฐานการพัฒนา (School Based Management) เป็นภารกิจหลักของบุคลากรสายงานใด
• ค. ศึกษานิเทศก์ สายงานนิเทศการศึกษา
7.การนิเทศการศึกษามีความหมายที่สมบูรณ์ที่สุดในข้อใด
• ง. ระบบพฤติกรรมขององค์กรที่ทำงานมุ่งผลกระทบสู่พฤติกรรมการสอนของครู
8.คำสำคัญที่มักใช้ในความหมายเดียวกันกับ สมรรถนะ” คือคำในข้อใด
• ข. ศักยภาพ (Potential)
9.เต็มใจ ภาคภูมิใจ และมีความสุขในการได้ไปเยี่ยมชั้น สังเกตการณ์สอนและทำกิจกรรมพัฒนาโครงการค่ายภาษาอังกฤษ เป็นพฤติกรรมเด่นชัดของสมรรถนะใด
• ก. การทำงานเป็นทีม (Team work)
10.การให้คำปรึกษา (Mentoring) ชี้แนะ (Coaching) และช่วยแก้ไขปัญหาการเรียนการสอนแก่ครูของศึกษานิเทศก์มีสิ่งใดเป็นข้อมูล หลักฐานและร่องรอยคุณภาพการปฏิบัติงาน
• ข. แบบสังเกตการสอน
11. บทบาทหน้าที่หลักของศึกษานิเทศก์สัมพันธ์กับสมรรถนะประจำสายงายของศึกษานิเทศก์ในข้อใด
• ค. การสื่อสารและการจูงใจ
12.จากผลการวิจัยของ Gottesman.B. พบว่าสมรรถนะของศึกษานิเทศก์ที่ใช้เทคนิควิธีการนิเทศการศึกษาแบบใด ทำให้เกิดความรู้ ความจดจำที่คงทนยาวนาน เกิดผล 90%
• ก. การชี้แนะการสอนงาน (Coaching)
13.ข้อใดเป็นพฤติกรรม ความรับผิดชอบในวิชาชีพ” ของศึกษานิเทศก์
• ง. เขาพยายามรักษามาตรฐานในการปฏิบัติงานอย่างคงเส้นคงวา
14.เป้าหมายและหลักการสำคัญในการศึกษาบทเรียน (Lesson study) คือข้อใด
• ค. การศึกษาและปรับปรุงแผนการสอนให้มีประสิทธิภาพ
15.“ความรู้ความเข้าใจเนื้อหา ผนวกวิธีการสอนที่เหมาะสม” (Pedagogical Contents Knowledge : PCK) เป็นองค์ประกอบสมรรถนะที่สำคัญด้านใดของศึกษานิเทศก์
• ง. ความรู้ในเนื้อหาที่สอน และความรู้ในวิธีการสอน



02301  การฝึกอบรมพัฒนาภาวะผู้นำทางวิชาการ  
1. ข้อใดอธิบายเกี่ยวข้องกับผู้นำได้ตรงที่สุด
    ง. ผู้นำ คือความสามารถในการนำไปสู่เป้าหมาย
2. ผู้บริหารระดับสูงควรมีทักษะของผู้นำด้านใดมากที่สุด
     ง. การควบคุมสั่งการ
3. ภาวะผู้นำทางวิชาการแบบใดที่จะเป็นประโยชน์ในการพัฒนาหน่วยงาน
     ก. แบบประชาธิปไตย
4. แนวคิดแบบตาข่าย (Managerial grid) ของเบลคและมูตัน พฤติกรรมผู้นำแบบใดดีที่สุด
     ง. 9.9
5. ข้อใดที่ไม่ใช่แนวทางการจัดการศึกษาของผู้นำทางวิชาการ
     . ทำนายคาดหวัง
6. ข้อใดไม่เกี่ยวข้องกับกับการจัดการศึกษาที่มีคุณภาพ
    ค. การสนับสนุนครูเข้าร่วมเป็นกรรมการระดับต่างๆ
7. ข้อใดที่ไม่ใช่เป็นการกำหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา
     ข. เอกลักษณ์ของสถานศึกษา
8. ข้อใดกล่าวถึงการประกันคุณภาพการศึกษาตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542
    แก้ไขเพิ่มเติม(ฉบับที่ 2) ได้ถูกต้อง
    ค. ให้มีการประเมินคุณภาพภายนอก ของสถานศึกษาทุกแห่งอย่างน้อยหนึ่งครั้งในทุก ปี
9. ขั้นตอนใด เป็นขั้นตอนแรกของกระบวนการในการจัดระบบสารสนเทศ
  ก. การเก็บรวบรวมข้อมูล (Collecting Data)
10. ขั้นตอนสุดท้ายของการจัดเก็บสารสนเทศ คือข้อใด
      ง. การใช้ข้อมูลสารสนเทศ (Using Data)
11. เครือข่ายคอมพิวเตอร์ที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในโลกที่เชื่อมต่อกันเหมือนใยแมงมุมคือข้อใด
   ข. WWW.
12. ข้อใดไม่ใช่เป็นประโยชน์ในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการศึกษา
      ง. ใช้ในการตัดสินใจของผู้บริหาร
13. ข้อใดไม่ใช่ภาวะผู้นำของผู้บริหารในด้านหลักสูตรและการจัดการเรียนการสอน
      ค. มีความสามารถในการจัดการเรียนการสอนตามหลักสูตร
14. ข้อใดที่แสดงให้เห็นถึงความเป็นผู้นำทางวิชาการในด้านการบริหารจัดการหลักสูตร
      ง. ตัดสินใจที่ถูกต้องในการจัดทำหลักสูตรสถานศึกษาให้เหมาะสมกับบริบทของโรงเรียน
15. ข้อใดไม่ใช่เป็นบทบาทของผู้บริหารในฐานะเป็นผู้นำในการจัดการเรียนการสอน
      ก. จะต้องยืดหยุ่นให้เหมาะสมกับความต้องการของผู้ปกครองนักเรียน
16. ทุกข้อเป็นองค์ประกอบของการจัดการเรียนการสอน ยกเว้นข้อใด
   ง. การสรุปบทเรียน
17. ข้อใดเป็นขั้นตอนของ ในกระบวนการวิจัยปฏิบัติการแบบ P-A-O-R
           ข. การเปลี่ยนแปลงสิ่งที่เกิดขึ้นด้วยความรอบคอบ
18. เป้าหมายสำคัญที่สุดของการใช้การวิจัยเพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษา ตรงกับข้อใด
      ง. คุณภาพของผู้เรียน
19. ข้อใดเป็นหลักการเลือกนวัตกรรมที่สำคัญที่สุด
      ก. ความเหมาะสม ครอบคลุมประเด็นปัญหา
20. ข้อใดไม่ใช่ผลที่ได้โดยตรงจากการใช้การวิจัยเพื่อพัฒนาคุณภาพ
      ก. ความพึงพอใจของผู้เรียน
      


02302 การบริหารแบบมุ่งผลสัมฤทธิ์
ข้อใดกล่าวถึงความจำเป็นที่ต้องมีการปฏิรูประบบราชการได้ถูกต้อง
ง. ถูกทุกข้อที่กล่าวมา
2. 
ข้อใดกล่าวถึงความหมายของประสิทธิภาพ (Efficiency) ถูกต้องที่สุด
ข. ผลผลิตที่ได้เท่าเดิมแต่ปัจจัยนำเข้าลดลง
3. 
ข้อใดกล่าวถึงความหมายของผลสัมฤทธิ์ได้ถูกต้อง
ค. ผลสัมฤทธิ์ (
Result) = 
ผลผลิต (
Output) + 
ผลลัพธ์ (
Outcomes)
4. 
ข้อใดกล่าวถึงการบริหารมุ่งผลสัมฤทธิ์ถูกต้องน้อยที่สุด
ง. การบริหารที่ยึดกฎระเบียบในการดำเนินงาน
5. 
ข้อใดกล่าวถึงความหมายปัจจัยหลักความสำเร็จ (CSFs Critical Success Factor) ไม่ถูกต้อง
ง. สิ่งที่องค์การต้องดำเนินการเพื่อรองรับการประเมินภายนอก
6. 
การกำหนดตัวชี้วัดผลการปฏิบัติงานหลัก (KPI) ที่ดีต้องมีลักษณะเฉพาะเจาะจงและชัดเจนตรงกับหลักการ SMART ข้อใด
ก. 
Specific             
7. 
ตัวชี้วัดผลการปฏิบัติงานหลัก (KPI) มีความสัมพันธ์กับปัจจัยหลักความสำเร็จ (CSFs)ข้อใดกล่าวถูกต้องที่สุด
ก. 
KPI 
ใช้วัดความก้าวหน้าการปฏิบัติงานตาม 
CSFs
8. “
ครูสามารถจัดการเรียนรู้โดยใช้คอมพิวเตอร์เป็นสื่อได้” จากข้อความนี้ท่านว่าสัมพันธ์กับข้อใด
ง. ตัวชี้วัดผลลัพธ์
9. 
การวัดผลการปฏิบัติงาน (Performance Measurement) สิ่งที่จะต้องนำไปเปรียบเทียบ    ท่านคิดว่าข้อใดถูกต้องที่สุด
ข. เป้าหมาย       
10. 
ข้อใดกล่าวถึงการประเมินโครงการได้ถูกต้องที่สุด
ง. ความคุ้มค่า
11. 
การตรวจสอบผลการปฏิบัติงานตามหลักการบริหารมุ่งผลสัมฤทธิ์ข้อใดกล่าวถูกต้อง
ข. เน้นผลสัมฤทธิ์   
12. 
ข้อใดกล่าวถึงประโยชน์การติดตามผลการปฏิบัติงานไม่ถูกต้อง
ก. เพิ่มความสำคัญของผู้บังคับบัญชา
13. 
ข้อใดกล่าวถึงกระบวนการจัดทำแผนกลยุทธ์ขององค์การได้ถูกต้องที่สุด
 
ข. การจัดทำแผนกลยุทธ์ทุกคนในองค์การต้องมีส่วนรวม
14. “
ร้อยละของนักเรียนที่จบการศึกษาระดับมัธยมศึกษาปีการศึกษา 2554ที่เข้าศึกษาต่อระดับอุดมศึกษา” ข้อความนี้กล่าวถึงตัวชี้วัดตามข้อใด
ข. ตัวชี้วัดผลผลิต       
15. 
หลักเกณฑ์ในการเลือกวิธีการเก็บข้อมูล ผู้เกี่ยวข้องควรพิจารณาข้อใดน้อยที่สุด
ข. ความสะดวก     
16. 
ข้อใดกล่าวถึงตัวชี้วัดได้ถูกต้อง
ข. จำนวนตัวชี้วัดจะต้องมีเท่าที่จำเป็นที่สอดคล้องกับสิ่งที่จะวัด
17. 
ข้อใดกล่าวถึงลักษณะขององค์การที่ใช้ระบบการบริหารมุ่งผลสัมฤทธิ์ได้ถูกต้อง
 
ง. ถูกทุกข้อที่กล่าวมา
18. 
การวิเคราะห์ภารกิจและผลผลิตหลักของสถานศึกษาท่านคิดว่าคำตอบข้อใด
ง. ถูกทุกข้อ
19. 
ข้อโดกล่าวถึงลักษณะเด่นของ เป้าประสงค์” ได้ถูกต้อง
ข. เป็นผลลัพธ์
20. 
การเขียนโครงการที่สอดคล้องกับหลักการบริหารมุ่งผลสัมฤทธิ์ ข้อใดเป็นลักษณะเด่นที่สุด
ก. มีการระบุเป้าหมายโครงการชัดเจน




02303 การจัดการความรู้ (Knowledge Management) 1.ทุกข้อเป็นองค์ประกอบสำคัญของการจัดการความรู้ ยกเว้นข้อใด
xง. การแบ่งปันและแลกเปลี่ยนความรู้
2.ทุกข้อเป็นลักษณะของขุมความรู้ที่ดี ยกเว้นข้อใด
ค. เป็นถ้อยคำที่ผู้เขียนบัญญัติขึ้น
3.ผู้มีบทบาทช่วยตั้งคำถาม เพื่อให้ความรู้ฝังลึกได้ถูกสกัดออกมา ตรงกับข้อใด
xก. คุณอำนวยหรือผู้ดำเนินการในกลุ่ม
4.เครื่องมือในข้อใด ที่ใช้ในการแลกเปลี่ยนความรู้ที่ฝังลึกในตัวบุคคล
xง. เรื่องเล่าเร้าพลัง (Story Telling)
5.ข้อใดไม่ใช่ลักษณะการเล่าเรื่องที่ดี
ข. เรื่องเล่าสอดคล้องกับต้องการของตนเอง
6.การสร้างแรงจูงใจให้เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของบุคลากรในองค์กร ตรงกับข้อใด
xข. การยกย่องชมเชยและให้รางวัล
7.ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้อง
ค. เทคโนโลยีช่วยให้เกิดการแลกเปลี่ยนความรู้
8.ข้อใดเป็นบันทึกขุมความรู้ที่มีวิธีปฏิบัติไม่ถูกต้อง จากเรื่อง การจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
xง. ต้องสอนให้มาก สอนต่อเนื่อง
9.ทุกข้อเป็นความรู้ที่ชัดแจ้ง(Explicit Knowledge) ยกเว้นข้อใด
xก. วิธีการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญของครูในชั้นเรียน
10.ข้อใดเป็นส่วนที่แสดงถึงส่วนหัวปลา ตามโมเดลปลาทู
ข. การกำหนดความสำเร็จของการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
11.ความรู้ที่ฝังลึกในตัวบุคคล (Tacit Knowledge) ตรงกับข้อใด
xค. วิธีการปฏิบัติจริงในการออกแบบหน่วยการเรียนรู้ด้วย Backward Design
12.ข้อใดไม่ใช่ปัจจัยเอื้อที่ทำให้การจัดการความรู้ประสบผลสำเร็จ
ข. การมีบุคลากรที่มีความสามารถ
13.ข้อใดไม่ใช่วัตถุประสงค์ของการใช้เรื่องเล่าเร้าพลังในการจัดการความรู้
xง. เพื่อพัฒนาองค์กร
14.ข้อใดเป็นขั้นตอนการปรับปรุงรูปแบบ เนื้อหาเอกสารหรือองค์ความรู้ให้สมบูรณ์
xก. การประมวลและกลั่นกรองความรู้
15.ข้อใดไม่ใช่ประเด็นที่เกี่ยวข้องของความหมายของการจัดการความรู้
ค. เป็นแนวทางการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
16.ทุกข้อเป็นแก่นความรู้ ยกเว้นข้อใด
xก. เป็นความรู้เชิงทฤษฎี
17.ข้อใดเป็นขั้นตอนการนำความรู้ไปใช้ประโยชน์ในการตัดสินใจ แก้ปัญหาและปรับปรุงองค์กร
ง. การเรียนรู้
18.ข้อใดเป็นปัจจัยเอื้อที่สำคัญที่สุด
xง. กลยุทธ์ขององค์กร
19.จากวงจรของการจัดการความรู้ สิ่งแรกที่องค์กรต้องปฏิบัติคือข้อใด
ง. การจัดการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของคนในองค์กร
20. ผู้มีบทบาทเป็นผู้สร้างบรรยากาศที่ดีที่จะนำไปสู่การแบ่งปันความรู้ ตรงกับข้อใด
ค. คุณเอื้อหรือหัวหน้าทีม



02304  การพัฒนาสมรรถนะประจำสายงานและสมรรถนะหลักสำหรับผู้บริหาร
1. ตัวบ่งชี้ของสมรรถนะข้อใดไม่เข้าพวก
• ข. เกิดความพึงพอใจ
2. “ความคิดเชิงระบบในการแก้ปัญหาหรือพัฒนางานถือเป็นตัวบ่งชี้ของสมรรถนะใด
• ข. การวิเคราะห์และสังเคราะห์
3. การศึกษาค้นคว้า หาความรู้ ติดตามองค์ความรู้และเทคโนโลยีใหม่ ๆ ในวงวิชาการและวิชาชีพเพื่อพัฒนาตนเองและพัฒนางาน คือสมรรถนะใด
• ก. การพัฒนาตนเอง
4. กฎ ระเบียบต่าง ๆ ต่อไปนี้เกี่ยวข้องในการนำสมรรถนะมาใช้ในระบบราชการ ยกเว้นข้อใด
• ง. พระราชบัญญัติเงินเดือน เงินวิทยฐานะและเงินประจำตำแหน่งข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา พ.ศ. 2547
5. แนวทางการพัฒนาสมรรถนะต่อไปนี้ข้อใดสามารถโน้มน้าวให้ผู้อื่นเห็นด้วย ยอมรับคล้อยตาม เพื่อบรรลุจุดมุ่งหมายของการสื่อสาร
• ก. นำเสนอข้อมูลสารสนเทศด้านแนวคิด หลักวิชาการเพื่อให้ผู้อื่นคล้อยตาม
6. ความสามารถในการให้คำปรึกษา แนะนำ และช่วยเหลือปัญหาให้แก่เพื่อนร่วมงานและผู้เกี่ยวข้อง มีส่วนร่วมในการพัฒนาบุคลากร ปฏิบัติตนเป็นแบบอย่าง รวมทั้งส่งเสริม สนับสนุนและให้โอกาสเพื่อนร่วมงานได้พัฒนาในรูปแบบต่างๆ คือสมรรถนะใด
• ก. การพัฒนาศักยภาพบุคลากร
7. ข้อใดเป็นตัวบ่งชี้ของสมรรถนะที่แตกต่างจากข้ออื่น
• ค. เกิดจากกระบวนการคิดเชิงระบบ
8. คุณลักษณะของบุคคลในต่อไปนี้ข้อใดที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมของบุคคลและสามารถพัฒนาได้ยากที่สุด
• ง. ค่านิยม
9. การประเมินที่ดีควรมีลักษณะต่อไปนี้ ยกเว้นข้อใด
• ง. ไม่มีข้อใดถูกต้อง
10. ในการขอเลื่อนวิทยฐานะสำหรับผู้บริหารตามหลักเกณฑ์ของ ก.ค.ศ. ท่านในฐานะผู้บริหารจะต้องผ่านหลักเกณฑ์ด้านคุณสมบัติด้านใดบ้าง
• ง. ถูกทุกข้อ
11. ปัญหาอุปสรรคสำคัญในการนำสมรรถนะมาใช้ ได้แก่
• ง. ถูกทุกข้อ
12. “มีการทดลองวิธีการหรือจัดทำคู่มือประกอบการพัฒนางานใหม่ๆ โดยมีการจัดทำรายงานการพัฒนาที่เป็นรูปธรรมชัดเจน และมีการเผยแพร่ในวงกว้าง” เป็นเกณฑ์การประเมินในสมรรถนะใด
• ข. การมุ่งผลสัมฤทธิ์
13. ข้อใดเป็นเหตุผลความจำเป็นที่สำคัญที่สุดในการนำสมรรถนะมาใช้ในหน่วยราชการ
• ง. เพื่อให้การบริหารบุคลากรขององค์การดำเนินไปอย่างมีทิศทางและเพื่อพัฒนาสมรรถนะของข้าราชการและประสิทธิผลของหน่วยงานภาครัฐ
14. ข้อใดกล่าวได้ถูกต้องที่สุด
• ง. บุคคลที่มีสมรรถนะดีจะมุ่งเน้นที่การใช้ความรู้ ทักษะและคุณลักษณะอื่นๆ เพื่อช่วยให้เกิดผลสำเร็จที่ดีเลิศ
15. ข้อต่อไปนี้เป็นความสำคัญของสมรรถนะที่มีต่อการบริหารทรัพยากรบุคคล ยกเว้นข้อใด
• ข. ช่วยให้เกิดการแข่งขันระหว่างบุคลากรในการทำงานให้มีประสิทธิภาพสูงขึ้น
16. ผลข้อใดจะเกิดขึ้นหากไม่มีการประเมินสมรรถนะบุคคล
• ง. ถูกทุกข้อ
17. การบริหารงานบุคคลเรื่องใดบ้างที่จำเป็นต้องใช้ "สมรรถนะ" เป็นเครื่องมือช่วยในการกำหนดจุดมุ่งหมายและแนวทางดำเนินการ
• ง. ถูกทุกข้อ
18. ข้อใดกล่าวได้อย่างถูกต้อง
• ข. Core Competency ถือเป็นส่วนหนึ่งของวัฒนธรรมองค์กร
19. แนวทางการพัฒนาตนเองข้อใดที่ก่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดต่อการพัฒนาสมรรถนะการมุ่งผลสัมฤทธิ์
• ง. ถูกทุกข้อ
20. ข้อใดกล่าวได้อย่างชัดเจนที่สุดเกี่ยวกับสมรรถนะ
• ก. สมรรถนะเป็นทักษะ ความรู้และ ความสามารถ หรือพฤติกรรมของบุคลากร ที่จำเป็นในการปฏิบัติงานใดงานหนึ่ง
21. ข้อใดกล่าวได้ถูกต้องที่สุดเกี่ยวกับการเลือกสมรรถนะที่จะพัฒนา
• ข. ควรพิจารณาหลักสูตรการพัฒนาให้สอดคล้องกับสมรรถนะที่ต้องการ
22. โปรดเรียงลำดับระดับของขีดความสามารถต่อไปนี้ให้ถูกต้อง
1. นำความรู้ใหม่ ๆ ในสายอาชีพมาปรับใช้เพื่อปรับปรุงวิธีการปฏิบัติงานของตนเองให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น
2. กระตือรือร้นในการแสวงหาความรู้และติดตามความรู้ที่เป็นประโยชน์ต่อการปฏิบัติงานอยู่เสมอ
3. มองเห็นภาพรวมและความเชื่อมโยงของเรื่องต่าง ๆ และสามารถสรุปประเด็นสำคัญของเรื่องดังกล่าวได้
4. สามารถปรับเปลี่ยนวิธีการปฏิบัติงานได้อย่างเหมาะสมในสถานการณ์ที่หลากหลาย
• ก. 2 1 4 3
23. “การสังเกต” เป็นวิธีการในการหาข้อมูลของผู้ประเมินเพื่อประกอบการประเมินสมรรถนะใด
• ค. การพัฒนาศักยภาพของบุคลากร
24. หน่วยงานในข้อใดต่อไปนี้ที่ไม่ได้นำหลักการของสมรรถนะมาใช้
• ก. บริหารบุคลากรโดยมีจุดมุ่งหมายเพื่อการพัฒนาองค์กร
25. การประเมินสมรรถนะสำหรับผู้บริหารวิทยฐานะเชี่ยวชาญจะต้องผ่านเกณฑ์การประเมินด้านคุณภาพการปฏิบัติงานอย่างไร
• ข. ได้คะแนนเฉลี่ยไม่ต่ำกว่า ร้อยละ 75


UTQ-๐๒๑๒๗ การจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ: การจัดการการเรียนรู้แบบส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์ [ตอนที่ 1 ความหมาย ความสำคัญ และแนวคิดสำคัญของการจัดการเรียนรู้ แบบส่งเสริม 17/20
1.นารีตั้งใจจะไปซื้อของในห้าง
ค.ความคิดยืดหยุ่น
2.การวัดผลตามแผนกาสรจัดการเรียนรู้ต้องสัมพันธ์กับสิ่งใด
ง.จุดประสงค์การเรียนรู้
3ข้อใดกล่าวถึงสื่อได้เหมาะสมที่สุด
ง.เชื่อมโนยงการเรียนรู้
4.ข้อใดกล่าวถึงสื่อการสอนไม่ถูกต้อง
ง.ทำให้การสอนช้าลง
5.stimulus เป็นสถานการณ์ลักษณะใด
ค.เร้าความสนใจ
6.ขั้นสุดท้ายที่ผู้เรียนภูมิใจกับรูปแบบการจัดการแบบความคิดสร้างสรรค์คือข้อใด
ง.เผยแพร่ผลงาน
7.ข้อใดไม่ถูกต้อง
ง.การกำหนดเวลาตายตัวช่วยให้ความคิดสร้างสรรค์
8.ข้อคำนึงในการใช้เกม เพื่อจัดการเรียนรู้คือข้อใด
ข.กติกา
9.ข้อใดกล่าวถึงทฤษฎีการเรียนรู้ได้เหมาะสม
ก.กระบวนการเปลี่ยนแปลงความคิด
10.ข้อใดไม่ใช่คุณลักษณะของผู้เรียน  ความคิดสร้างสรรค์
ค.การไม่สนใจความคิดของผู้อื่น
11.ครูสมศรีจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้ได้ดีที่สุด
ก.กิจกรรมสัมพันธ์กับผู้เรียน
12.ข้อใดไม่ใช่แนวคิดตามทฤษฎีมาสโลว์
ง.ความต้องการเป็นผู้นำ
13.ใครมีพฤติกรรมสอดคล้องกับความคิดสร้างสรรค์
ก.ยาดามีความคิดแบบอเนกนัย
14.ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้องเกี่ยวกับความคิดสร้างสรรค์
ง.ความคิดจินตนาการ
15.พฤติกรรมในข้อใดเป็นการจูงใจใฝ่เรียน
ง.การเสริมแรง
16.จุดเด่นของรูปแบบการจัดการเรียนรู้ แบบส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์ คือข้อใด
ง.ถูกทุกข้อ
17.พฤติกรรมใดไม่สอดคล้องกับการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
ง.ครูกำหนดประเด็นตามกรอบตายตัว
18.ข้อใดเป็นการเรียนรู้ระดับสูง
ค.การประเมินค่า
19.ครูปรีชากระตุ้นให้ผู้เรียนตั้งคำถามจากภาพให้ได้มากที่สุด ในเวลาที่กำหนด ข้อใดกล่าวถูกต้อง
ง.ครูปรีชาฝึกการคิดทางเลือกทางตรง
20.ตัวบ่งชี้ต่อไปนี้ จำแนก เปรียบเทียบ ให้เหตุผลสอดคล้องกับพฤติกรรมใด
ง.การวิเคราะห์




UTQ- 02101 แนวทางการจัดการเรียนรู้ตามหลักสูตรแกนกลาง 2551
จำนวนคำถาม : 16/20 แบบทดสอบ Post -test

1. สิ่งใดคือลักษณะที่สำคัญของการจัดการเรียนรู้ที่สอดคล้องกับพัฒนาการทางสมอง
• ค. การจัดการเรียนรู้ด้วยวิธีการที่หลากหลาย
2. ข้อใดคือความสำคัญของการกำหนดน้ำหนักคะแนนของแต่ละหน่วยการเรียนในโครงสร้างรายวิชา
• ง. เพื่อบ่งบอกถึงความสำคัญของแต่ละหน่วยการเรียนรู้ และใช้ในการประเมินระหว่างเรียน (Formative Evaluation) และประเมินรวบยอด (Summative Evaluation)
3. ข้อใดกล่าวถูกต้อง
• ง. ตัวชี้วัดบางตัวที่ต้องการพัฒนาผู้เรียนให้มีความชำนาญหรือเชี่ยวชาญสามารถนำตัวชี้วัดนั้นๆ ไปพัฒนาผู้เรียนได้มากกว่า 1 หน่วยการเรียนรู้
4. การจัดการเรียนรู้ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 แตกต่างจากหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544 อย่างไร
• ค. การจัดการเรียนรู้ที่มีมาตรฐานการเรียนรู้ เป็นเป้าหมายในการพัฒนาผู้เรียน
5. การกำหนดเวลาเรียนในแต่ละหน่วยการเรียนรู้ควรคำนึงถึงสิ่งใดบ้าง
• ค. จำนวนตัวชี้วัด ความยากง่ายของสาระสำคัญ วิธีการและกระบวนการเรียนรู้ ที่นำมาใช้
6. สิ่งใดในข้อต่อไปนี้ ไม่ใช่ เป้าหมายการเรียนรู้ที่กำหนดไว้ในหน่วยการเรียนรู้
• ง. สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน
7. สิ่งใดต่อไปนี้ที่สามารถเพิ่มเติมได้ตามจุดเน้นของเขตพื้นที่การศึกษา สถานศึกษา และกลุ่มสาระการเรียนรู้
• ง. คุณลักษณะอันพึงประสงค์
8. ข้อใดกล่าวถึงขั้นตอนการออกแบบหน่วยการเรียนรู้แบบย้อนกลับ(Backward Design) ได้ถูกต้อง
• ข. กำหนดเป้าหมายการเรียนรู้ หลักฐานการเรียนรู้ กิจกรรมการเรียนรู้
9. ข้อใดเป็นการกล่าวถึงเจตนารมณ์ของการกำหนดจุดเน้นการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน อย่างถูกต้อง
• ค. เป็นการสร้างคุณภาพในตัวผู้เรียนที่มีความครอบคลุมในด้านความสามารถและทักษะ ตลอดจนคุณลักษณะที่ช่วยให้ผู้เรียนมีคุณภาพตามเป้าหมายของหลักสูตร
10. เป้าหมายสำคัญของการพัฒนาเด็กและเยาวชนไทยที่กำหนดไว้ในหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 คืออะไร
• ง. ข้อ ก. - ค.
11. สิ่งใดไม่ใช่หลักการของการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
• ข. ผู้เรียนได้มีโอกาสได้เรียนเป็นกลุ่มๆ ร่วมกับเพื่อนๆ
12. ข้อใดกล่าวถึงลักษณะการจัดการเรียนรู้แบบ Active Learning
• ง. ข้อ ก. – ค.
13. ข้อใดเป็นการกล่าวถึงเจตนารมณ์ของกระบวนการจัดการเรียนรู้ที่กำหนดไว้ ในหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 อย่างถูกต้อง
• ง. เป็นกระบวนการเรียนรู้ที่มุ่งให้เกิดกับผู้เรียน โดยผ่านวิธีการจัดกิจกรรม การเรียนรู้ของครูผู้สอน
14. สิ่งใดในข้อต่อไปนี้กล่าวถึงการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ซึ่งจะช่วยให้ผู้เรียนบรรลุเป้าหมายการเรียนรู้
• ง. ใช้เทคนิค/วิธีการ สื่อที่จะช่วยให้ผู้เรียนบรรลุตามมาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด เกิดสมรรถนะสำคัญ ปลูกฝังคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ตลอดจนสามารถสร้างชิ้นงาน/ภาระงานได้
15. ข้อใดกล่าวถึงความสำคัญของโครงสร้างรายวิชาไว้อย่างครอบคลุมถูกต้อง
• ง. ช่วยให้เห็นภาพรวมของรายวิชา มาตรฐานการเรียน/ตัวชี้วัด สาระสำคัญ/ ความคิดรวบยอด เวลาเรียน และน้ำหนักคะแนนของแต่ละหน่วยการเรียนรู้ ในรายวิชานั้นๆ
16. ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้อง
• ก. การตั้งชื่อหน่วยการเรียนรู้ให้เป็นไปตามความต้องการของผู้สอน
17. ข้อใดกล่าวถึงวิธีการวัดและประเมินผลที่ควรกำหนดไว้ในหน่วยการเรียนรู้
• ง. กำหนดให้การวัดและประเมินผลระหว่างและสิ้นสุดการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ตลอดจนเกณฑ์การประเมินที่เชื่อมโยงกับมาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด ที่กำหนดไว้ในหน่วยการเรียนรู้
18. การจัดการเรียนรู้ที่คำนึงถึงความแตกต่างระหว่างบุคคล มีความสำคัญต่อครูผู้สอนอย่างไร
• ง. ข้อ ก. - ค.
19. ข้อใดต่อไปนี้กล่าวถึงคุณลักษณะอันพึงประสงค์ไม่ถูกต้อง
• ข. การประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ต้องใช้แบบทดสอบเป็นเครื่องมือหลัก
20. ข้อใดต่อไปนี้กล่าวถึงสมรรถนะสำคัญของผู้เรียนไว้อย่างถูกต้อง
• ค. สมรรถนะสำคัญของผู้เรียนสามารถเพิ่มเติมได้ตามจุดเน้นของเขตพื้นที่การศึกษา สถานศึกษา และกลุ่มสาระการเรียนรู้


UTQ 55304 14..20 การปกครองชั้นเรียนทางบวกและสันติวิธีจำนวนคำถาม : 20 ข้อ : -

1. สิ่งใดที่ผู้สอนควรปลูกฝังผู้เรียนเพื่อให้เกิดสันติวิธี
• ง. ถูกทุกข้อ
2. “การจัดการชั้นเรียน” มีความหมายตรงกับข้อใดมากที่สุด
• ง. ถูกทุกข้อ
3. “ความพยายามของครูที่มีประสิทธิภาพ” มีลักษณะยกเว้นใด
• ค. การเป็นครูที่มีความรับผิดชอบ (Responsive)
4. ข้อใดไม่ใช่สิ่งที่ต้องคำนึงถึงในการจัดสภาพแวดล้อมห้องเรียน
• ก. ความอิสระอย่างไร้ขอบเขตในการเล่น
5. ข้อใดคือบรรยากาศในชั้นเรียนที่มีลักษณะการสอนแบบ “บรรยากาศแห่งการควบคุม (Control)”
• ค. ครูเน้นการควบคุมให้ผู้เรียนมีระเบียบ รู้จักสิทธิและหน้าที่ตนเองอย่างมีขอบเขต
6. ในการสร้างวินัยเชิงบวก “ผู้สอน” ควรพยายาม “จับถูก” ต่อการ “จับผิด” ในอัตราส่วนใด
• ง. 4:1
7. บรรยากาศในชั้นเรียนแบ่งได้เป็นกี่ลักษณะ
• ค. 6
8. การจัดสภาพห้องเรียนที่ถูกสุขลักษณะ คือข้อใด
• ข. มีหน้าต่างเพียงพอ มีประตูเข้าออกได้สะดวก
9. ข้อใดไม่ใช่ “หลัก 7 ประการของการสร้างวินัยเชิงบวก”
• ง. คำนึงถึงเทคโนโลยีใหม่ๆ ที่สนับสนุนการสอน
10. ข้อใดคือบรรยากาศในชั้นเรียนที่มีลักษณะการสอนแบบ “บรรยากาศที่ท้าทาย (Challenge)”
• ก. ครูกระตุ้นให้กำลังใจนักเรียนอยู่เสมอ
11. ข้อใด เป็นการแสดงออกถึงการใช้ความคิดสร้างสรรค์ในการสอน
• ข. ให้ผู้เรียนได้พูดคุยกันก่อนเรียน เพื่อรู้สึกผ่อนคลาย
12.“Reflection on Action” หมายถึงข้อใด
• ก. การไตร่ตรองการสอนที่ผ่านมา
13. โรงเรียน ควรศึกษาปัจจัยใดเพื่อจัดการกับความขัดแย้ง
• ง. ถูกทุกข้อ
14. การจัดเก้าอี้ให้เป็นระเบียบเรียบร้อย ผู้เรียนสามารถมองเห็นกระดานได้หมด จัดเป็นการจัดบรรยากาศในชั้นเรียนแบบใด
• ก. กายภาพ (Physical)
15. “เคล็ดลับ” ในการสร้างวินัยทางบวก ของห้องเรียนที่มีนักเรียนจำนวนมาก คืออะไร
• ง. ไม่มีข้อใดถูก
16. ปัจจัยสำคัญที่ส่งผลต่อการสร้างวินัยในชั้นเรียนคือข้อใด
• ง. การควบคุมพฤติกรรมของเด็ก
17. เมื่อผู้เรียนทำงานสำเร็จ ผู้สอนควรพูดอย่างไรกับเด็ก
• ข. ต้องอย่างนี้สิ ครูภูมิใจในตัวเธอ
18. ข้อใดเรียงลำดับขั้นตอนการสร้างวินัยเชิงบวกได้ถูกต้อง
1) ขอให้นักเรียนแสดงพฤติกรรมรับรู้ เช่น “เห็นหรือยังว่า ทำไมการตั้งใจฟังจึงเป็นสิ่งสำคัญ”
2) บรรยายถึงพฤติกรรมที่เหมาะสม เช่น “ตอนนี้ครูขอให้ทุกคนเงียบก่อน”
3) ให้เหตุผลที่ชัดเจน เช่น “เราจะเริ่มเรียนคณิตศาสตร์บทใหม่แล้ว ทุกคนต้องตั้งใจฟังนะ”
4) ให้รางวัลและชื่นชมต่อพฤติกรรมที่เหมาะสม เช่น สบตา พยักหน้า หรือยิ้ม
• ก. 2, 3, 1, 4
19. ข้อใดเป็นการจัดสภาพแวดล้อมที่เหมาะสมสำหรับการสร้างวินัยเชิงบวก
• ง. ถูกทุกข้อ
20. บรรยากาศในชั้นเรียน จะช่วยส่งเสริมสิ่งใดบ้าง


• ง. ถูกทุกข้อ






เฉลย  utq 00103  กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
1. ข้อใด ไม่ใช่ กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์
xข. บำเพ็ญประโยชน์ในกิจกรรมลูกเสือ

2. กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ เป็นกิจกรรมประเภทหนึ่งของหัวข้อใด ต่อไปนี้

xก. กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน

3. ข้อใดเป็นความหมายของ AAR (After Action Review)

xก. การเปิดใจและการเรียนรู้หลังการทำกิจกรรม เสร็จสิ้นลง เพื่อถอดบทเรียน ชื่นชมความสำเร็จและหาทางพัฒนาให้ดีขึ้น

4. ข้อใด ไม่ใช่ วัตถุประสงค์ของกิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์

xง. เพื่อส่งเสริมให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในกระบวนการเรียนรู้โดยเป็นผู้สร้างความรู้ด้วยตนเอง และค้นพบข้อความรู้ด้วยตนเอง

5. มัธยมศึกษาตอนต้น ม. 1 – ม. 3 โครงสร้างเวลาในการจัดกิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ กำหนดไว้เท่าไร

x ค. 45 ชั่วโมง

6. ทำไมจึงต้องจัด กิจกรรมค่ายนักเรียน

x ง. เพื่อพัฒนาคุณภาพด้านการศึกษาเด็กให้ได้ตามมาตรฐาน และมีพฤติกรรมตามหลักสูตรกำหนด

7. กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ ในระดับประถมศึกษาปีที่ 1-6 โครงสร้างเวลาในการจัดกิจกรรม กำหนดไว้เท่าไร

x ข. 60 ชั่วโมง

8. ข้อใดเป็น คำจำกัดความ ของการจัดกิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์

xค. กิจกรรมที่ส่งเสริมให้ผู้เรียนบำเพ็ญตนให้เป็นประโยชน์ต่อครอบครัว ชุมชน สังคมและประเทศชาติ ในลักษณะ อาสามสมัคร เพื่อช่วยขลัดเกลาจิตใจของผู้เรียนให้มีความเมตตากรุณา เสียสละ เพื่อช่วยสร้างสรรค์สังคมระหว่างบุคคล เน้นการให้ผู้เรียนเห็นคุณค่าของวิชาความรู้ อาชีพ และการดำเนินชีวิต


9. ข้อใด ไม่ใช่ ข้อควรปฏิบัติหลังการทำ AAR
x ค. ความคิดเห็นแต่ละข้อ ตัดสินข้อมูลถูกหรือผิด เพื่อแก้ไขข้อบกพร่อง

10. “การกำหนดผลการเรียนรู้ของการการจัดกิจกรรมค่ายนักเรียนต้องครอบคลุมด้านใดบ้าง

xข. ความคิดรวบยอดจากความรู้ คุณลักษณะที่พึงประสงค์ ด้านทักษะ

11. ข้อใด คือองค์ประกอบสำคัญของการ การจัดกิจกรรมค่ายนักเรียน

xก. การกำหนดเป้าหมาย

12. กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ มีผลการประเมินตัดสิน ดังข้อใด

x ก. ผ่าน / ไม่ผ่าน

13. ข้อใดเป็นขั้นตอนสุดท้ายของกระบวนการจัดกิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์

x ง. แลกเปลี่ยนเรียนรู้ หลังการปฏิบัติกิจกรรม เพื่อสะท้อนผลที่เกิดกับผู้ปฏิบัติกิจกรรมแล้วสรุปรายงาน และเผยแพร่

14. ข้อใดเป็นขั้นตอนแรกในกระบวนการจัดกิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์

xค. การสำรวจเพื่อศึกษาสภาพปัจจุบันปัญหาต่าง ๆ ทั้งภายในโรงเรียน และชุมชน

15. หลักการสำคัญของ AAR คือข้อใด

xข. ให้และรับข้อมูลป้อนกลับฝนบรรยากาศที่เป็นกันเอง โดยพูดเชิงบวกและเปิดโอกาสให้ทุก 16. ค่ายนักเรียน หมายถึง อะไร

xก. กิจกรรมการเรียนรู้นอกห้องเรียนมีเป้าหมายชัดเจนใช้ระบบกลุ่ม

17. การเขียนกำหนดการ หรือตารางเวลาการจัดกิจกรรมค่าย ไม่เกี่ยวข้องกับข้อใด

x ค. ทีมงานมีความสามารถในการมีปฏิสัมพันธ์กับผู้อื่น

18. ข้อใดเป็นกิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์

xง. สอนหนังสือให้เด็กด้อยโอกาส

19. ข้อใดกล่าวถูกต้อง

x ก. การกำหนดวัตถุประสงค์ของค่าย คือสิ่งที่คาดหวังให้ผู้เข้าร่วม ได้รับหลังการเข้าร่วมค่าย


20. ในกรณีที่ผู้เข้าร่วมกิจกรรมไม่ครบตามเวลา หรือมีผลงาน / ชิ้นงาน / คุณลักษณะไม่เป็นไปตามเกณฑ์ที่สถานศึกษากำหนด ครูที่ปรึกษาควรปฏิบัติดังข้อใด
x ค. ให้ผู้เรียนซ่อมเสริมการทำกิจกรรมให้ครบตามที่สถานศึกษากำหนด


UTQ – 55301 จิตวิญญาณความเป็นครู
UTQ – 55301 จิตวิญญาณความเป็นครู เต็ม 20 คะแนน ได้ 18 คะแนน
1. คุณธรรมในข้อใด คือ คุณธรรมที่ครูสมศรีได้กระทำตนเป็นที่เคารพรักของศิษย์น่าเคารพบูชา รู้จักชี้ทางให้ผู้เรียนเข้าใจด้วยเหตุผล ตอบ ข. กัลยาณมิตธรรม
2. วิธีการสอนที่เน้นให้ผู้เรียนเป็นศูนย์กลางของการเรียนการสอนด้วยการอภิปราย แบบ Panel ครูผู้สอนมีบทบาทในการจัดการเรียนการสอนแบบใด ตอบ ง. ครูผู้สอนมีบทบาทในการจัดการเรียนการสอนน้อยที่สุด
3. คุณลักษณะของครูที่ดี ข้อใดไม่ใช่ ตอบ ข. ใช้ความรู้ความสามารถหาประโยชน์ให้แก่ตน
4. องค์ประกอบของกระบวนการสอดแทรกคุณธรรมจริยธรรมในกิจกรรมการเรียนการสอน ข้อใดผิด ตอบ ข. เทคโนโลยีสารสนเทศ
5. การพัฒนาคุณธรรม จริยธรรมความเป็นครู ที่สถาบันผลิตครูสามารถกระทำได้คือข้อใด ตอบ ข. คัดเลือกคนดีคนเก่งและมีศรัทธาต่อวิชาชีพครูอย่างแท้จริงเข้ามาศึกษาในสถาบัน
6. ข้อใด คือ วิธีการปลูกฝังคุณธรรมจริยธรรม และจรรยาบรรณครู เพื่อให้ผู้ประกอบวิชาชีพครูเป็นครูที่สมบูรณ์พร้อมที่ดีที่สุด ตอบ ค. กิจกรรมการฝึกอบรม
7. การยึดหลักอุเบกขาเป็นหลักปฏิบัติในการสอดแทรกคุณธรรม จริยธรรมแก่ผู้เรียนของครูผู้สอนต้องเป็นอย่างไร ตอบ ค. ต้องมีความเป็นกลาง ความยุติธรรมที่ต้องมีให้แก่ศิษย์ทุกคน
8. การใช้คำประพันธ์ในการดำเนินการการปลูกฝังคุณธรรมและจรรยาบรรณครู สามารถดำเนินการได้ในลักษณะใด ตอบ ง. ถูกทุกข้อ
9. คุณธรรมของครูสังเกตได้จากสิ่งใด ตอบ ค. การประพฤติปฏิบัติตน
10.คุณธรรม สังคหวัตถุ 4 คือข้อใด ตอบ ค. เป็นเครื่องยืดเหนี่ยวจิตใจคน
11. การพัฒนาคุณธรรม จริยธรรมของครูโดยองค์กรวิชาชีพครู ข้อใดเป็นวิธีการที่ผิด ตอบ ข. ให้ทุนนักเรียนที่มีผลการเรียนดี มีบุคลิกภาพดี และมีศรัทธาต่อวิชาชีพครู
12. คุณลักษณะของครูที่ดี คือ ครูสามารถพัฒนาตนเองให้เป็นครูแบบใหม่ในระบบสากลได้ คือ คุณลักษณะใด ตอบ ข. คุณลักษณะ
13. วัตถุประสงค์ของจรรยาบรรณครู กำหนดขึ้นเพื่อสิ่งใด ตอบ ง. ถูกทุกข้อ
14. เทคนิคและวิธีการเพื่อการสร้างความสำเร็จในการทำงานในฐานะวิชาชีพครู ข้อใดเป็นวิธีการที่ผิด ตอบ ข. เช้าชามเย็นชาม
15. วิธีการในการสอดแทรกคุณธรรมและจริยธรรมในรายวิชาที่สอน โดยใช้การปฏิบัติธรรม เป็นวิธีการใด ตอบ ค. การค้นพบคุณธรรม จริยธรรมจากประสบการณ์ตรงจากเนื้อหาของกิจกรรม
16. อิทธิบาท 4 เป็นคุณธรรมที่ทําให้เกิดผลดีในด้านใด ตอบ ข. ความสำเร็จ
17. คุณธรรมในข้อใด ที่ครูควรมี ตอบ ง. ถูกทุกข้อ
18. ยุทธวิธีใด คือการส่งเสริมการคิดเพื่อการสอนที่มีคุณภาพ ตอบ ง. ถูกทุกข้อ
19. จรรยาบรรณข้อใด เป็นการพัฒนาตนเองด้านวิชาชีพ บุคลิกภาพ และวิสัยทัศน์ ให้ทันต่อการพัฒนาทางวิทยาการ เศรษฐกิจ สังคม และการเมืองอยู่เสมอ ตอบ ค. จรรยาบรรณต่อตนเอง
20. บทบาทใดของครูที่ไม่ใช่ในการเรียนการสอนที่มีผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง ตอบ ข. ผู้ประสานงาน

UTQ-00103 ประกันคุณภาพการศึกษา      ได้  20  คะแนน
1. ข้อใดไม่ใช่ขั้นตอนของระบบการประกันคุณภาพ
  • x การพัฒนาคุณภาพ
  • ข. การควบคุมคุณภาพ
  • ค. การตรวจสอบคุณภาพ
  • ง. การประเมินคุณภาพ
2. ข้อใดคือ ความหมายของการประกันคุณภาพภายใน

  • ก. การประเมินติดตามตรวจสอบคุณภาพและมาตรฐานของสถานศึกษาโดยสำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา
  • x การประเมินติดตามตรวจสอบคุณภาพและมาตรฐานของสถานศึกษาโดยหน่วยงานต้นสังกัดที่มีหน้าที่กำกับดูแลสถานศึกษา
  • ค. การประเมินติดตามตรวจสอบคุณภาพและมาตรฐานของสถานศึกษา
  • ง. ถูกทุกข้อ
3. เป้าประสงค์ของการประเมินผลการดำเนินงานตามแผนพัฒนา คืออะไร
  • ก. ยืนยันความสำเร็จของการดำเนินงานตามแผน
  • ข. จัดทำรายงานการประเมินตนเองได้อย่างน่าเชื่อถือ
  • ค. ทราบปัญหา อุปสรรค และแนวทางการพัฒนาคุณภาพ
  • x ได้รับการรับรองมาตรฐานการประเมินคุณภาพภายนอก
4. ข้อใด ไม่ใช่ ความหมายของมาตรฐานการศึกษา

  • ก. ข้อกำหนดเกี่ยวกับคุณลักษณะ คุณภาพที่พึงประสงค์
  • ข. มาตรฐานการทำงานที่ต้องการให้เกิดขึ้นในสถานศึกษาทุกแห่ง
  • x ข้อกำหนดเพื่อใช้เป็นหลักในการการประกันคุณภาพภายนอก
  • ง. ข้อกำหนดเพื่อใช้เป็นหลักในการเทียบเคียงสำหรับการส่งเสริมและกำกับ ดูแล
5. หากเปรียบกระบวนการพัฒนาคนในสถานศึกษาเหมือนการสร้างบ้าน ผู้ใดเปรียบเป็นสถาปนิก
  • ก. นักเรียน
  • x ครู
  • ค. ผู้ปกครอง
  • ง. ศึกษานิเทศก์
6. ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้องเกี่ยวกับแนวทางการเขียนรายงานการพัฒนาคุณภาพการศึกษาประจำปีของสถานศึกษา
  • ก. สะท้อนสภาพทั่วไปของสถานศึกษา
  • ข. ระบุเป้าหมายการพัฒนาของสถานศึกษา
  • xระบุมาตรฐานการศึกษา
  • ง. ระบุจุดเด่น-จุดด้อย และความต้องการช่วยเหลือ
7. การดำเนินกิจกรรมเพื่อยกระดับคุณภาพให้สูงขึ้นโดยมีมาตรฐานการศึกษาของสถาน ศึกษาเป็นเป้าหมาย คือกระบวนการใดในระบบการประกันคุณภาพภายใน
  • ก. การประเมินคุณภาพภายใน
  • ข. การติดตามคุณภาพ
  • ค. การตรวจสอบคุณภาพ
  • x การพัฒนาคุณภาพ
8. การกำหนดให้มีมาตรฐานการศึกษาเป็นการให้ความสำคัญกับการจัดการศึกษา
  • ก. เป็นการเปรียบเทียบระหว่างสถานศึกษา
  • ข. เป็นการเปรียบเทียบคุณภาพครูผู้สอนในแต่ละสถานศึกษา
  • x เป็นการเปรียบเทียบกับมาตรฐานซึ่งเป็นมาตรฐานเดียวกัน
  • ง. ถูกทุกข้อ
9. ข้อใดกล่าวเกี่ยวกับการนำความต้องการของผู้เกี่ยวข้องมาใช้ในการวางแผนพัฒนา ถูกต้องที่สุด
  • ก. ให้นำมาใช้เฉพาะที่สอดคล้องกับข้อเสนอแนะจากการประเมินคุณภาพภายนอก
  • x ให้นำทุกเรื่องมาบูรณาการ กับสภาพปัจจุบัน ปัญหา อุปสรรค และข้อเสนอแนะ
  • ค. ให้นำมาใช้เฉพาะที่ไม่สอดคล้องกับข้อเสนอแนะจากการประเมินคุณภาพภายนอก
  • ง. ดำเนินการให้สอดคล้องกับบริบทของโรงเรียน
10. ข้อใดกล่าวเกี่ยวกับการนำข้อเสนอแนะในการประเมินภายนอกและการประเมินตนเองประจำปีที่ผ่านมา มาใช้ในการวางแผนพัฒนาได้ถูกต้องที่สุด
  • ก. ให้นำข้อเสนอแนะมาดำเนินการวางแผนพัฒนา เฉพาะมาตรฐานที่ไม่ได้รับการรับรองคุณภาพ
  • x ให้นำข้อเสนอแนะจากการประเมินภายนอกมาดำเนินการพัฒนา เฉพาะเรื่องที่สอดคล้องกับข้อเสนอแนะจากรายงานประเมินตนเองประจำปี
  • ค. โรงเรียนสามารถเลือกดำเนินการตามข้อเสนอแนะจากการประเมินคุณภาพภายนอก และรายงานการประเมินตนเองประจำปีได้ตามบริบทของโรงเรียน
  • ง. ให้นำข้อเสนอแนะจากการประเมินคุณภาพภายนอกและจากรายงานการประเมินตนเองประจำปีมาดำเนินการทุกเรื่อง
11. ปัจจัยที่สำคัญที่สุดในการพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณภาพตามที่ต้องการคือข้อใด
  • ก. ความสามารถของผู้เรียน
  • x คุณภาพการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ของครู
  • ค. ความทุ่มเทของผู้บริหารการศึกษา
  • ง. การดูแลเอาใจใส่ของผู้ปกครอง
12. การประเมินคุณภาพภายนอก เหมือนหรือต่างกันกับ การประกันคุณภาพภายใน อย่างไร
  • ก. เหมือนกัน เพราะเป็นกระบวนการที่ใช้มาตรฐานการศึกษาเป็นกรอบในการดำเนินงาน
  • x ต่างกัน เพราะการประเมินคุณภาพภายในเป็นส่วนหนึ่งของการประกันคุณภาพภายนอก
  • ค. เหมือนกัน เพราะเป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการบริหารจัดการศึกษาตามมาตรฐานการศึกษา
  • ง. ต่างกัน เพราะการประกันคุณภาพภายนอกเป็นส่วนหนึ่งของการประเมินคุณภาพภายใน
13. ในรายงานการประเมินคุณภาพภายในประจำปี จะไม่มี เรื่องใด

  • x การรับรอง / ไม่รับรองคุณภาพ
  • ข. สรุปผลการพัฒนาในภาพรวม
  • ค. แผนพัฒนาคุณภาพของมาตรฐานต่างๆ
  • ง. โอกาสและอุปสรรคของการพัฒนาคุณภาพ
14. ข้อใดคือประโยชน์ของการจัดทำรายงานการพัฒนาคุณภาพการศึกษาประจำปีของสถานศึกษา
  • ก. จัดทำเพื่อรายงาน
  • ข. จัดทำเพื่อตรวจประเมิน
  • x นำผลไปใช้ปรับปรุงงาน วางแผนต่อๆไป
  • ง. ถูกทุกข้อ
15. การประกันคุณภาพเป็นหน้าที่ของใครบ้าง
  • ก. ครู
  • ข. นักเรียน
  • ค. ผู้บริหารสถานศึกษา
  • x บุคลากรทุกคนในสถานศึกษา
16. แผนพัฒนาคุณภาพควรยึดอะไรเป็นฐาน (ตัวตั้ง)
  • x มาตรฐานการศึกษา
  • ข. เงื่อนไขการบรรลุเป้าหมายตามแผนพัฒนา
  • ค. ความต้องการของโรงเรียน
  • ง. ถูกทุกข้อ
17. จุดมุ่งหมายของการประกันคุณภาพภายใน คือข้อใด
  • ก. เป้าหมายสำคัญอยู่ที่การพัฒนาคุณภาพให้เกิดขึ้นกับครู
  • ข. เป็นการจับผิดกระบวนการจัดการเรียนการสอน
  • xการพัฒนาคุณภาพสถานศึกษาตามมาตรฐานการศึกษา
  • ง. ถูกทุกข้อ
18. สิ่งใดคือสิ่งที่สะท้อนคุณภาพการศึกษา

  • x คนที่เป็นผลิตผลของการจัดการศึกษา
  • ข. ผู้จัดการศึกษา
  • ค. สถาบันการศึกษา
  • ง. ถูกทุกข้อ
19. ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้องเกี่ยวกับการกำหนดให้มีมาตรฐานการศึกษา
  • ก. คุณภาพครูที่ต้องจัดการเรียนการสอนให้ได้มาตรฐาน
  • ข. มาตรฐานการศึกษาเป็นแนวทางให้สาธารณชนเข้ามามีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา
  • ค. คุณภาพการจัดสถานศึกษาให้เป็นแหล่งชุมชนการเรียนรู้
  • x ครูต้องถือเป็นความรับผิดชอบที่จะทำให้ผู้เรียนมีคุณภาพตามมาตรฐาน
20. “ครูใช้สื่อและเทคโนโลยีที่เหมาะสมผนวกกับการนำบริบทและภูมิปัญญาของท้อง ถิ่นมาบูรณาการในการจัดการเรียนรู้เป็นมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐานด้านใด
  • ก. มาตรฐานด้านคุณภาพผู้เรียน
  • ข. มาตรฐานด้านมาตรการส่งเสริม
  • x มาตรฐานด้านการจัดการศึกษา
  • ง. มาตรฐานด้านการสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้

UTQ-00105

แบบทดสอบ Post –test utq 00105 การบูรณาการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อยกระดับการเรียนการสอน
จำนวนคำถาม : 30 ข้อ 26 คะแนน
•    ข้อใดไม่เป็นศักยภาพของเทคโนโลยีเว็บ 2.0 ที่สามารถสนับสนุนการจัดการเรียนรู้
– สร้างช่องทางการเรียนรู้แบบไม่เป็นเครือข่าย
•    กิจกรรมใดมีความเหมาะสมน้อยที่สุดในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้บล็อก
– ประเมินผลการสอบปลายภาคเรียน เพื่อป้องกันการทุจริตของนักเรียน
•    การใช้บล็อกในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ควรคำนึงถึงสิ่งใดน้อยที่สุด
– สมาชิกทุกคนต้องอัพโหลดรูปของตนเองในบล็อก
•    ท่านคิดว่านักเรียนควรมีบทบาทอย่างไรในการนำแหล่งทรัพยากรการเรียนรู้บนอินเทอร์เน็ตมาใช้ในการจัดการเรียนรู้
– ใช้อินเทอร์เน็ตเพื่ออ่านข้อมูล ความรู้และนำมาเรียบเรียง/เพิ่มเติมข้อมูลเผยแพร่ต่อไป
•    จากขั้นตอนต่อไปนี้เป็นการดำเนินงานเกี่ยวกับเรื่องใด
– การวางแผนหน่วยการเรียนรู้
•    “ติดต่อกับแหล่งเรียนรู้ต่าง ๆ ทั้งในและนอกโรงเรียนเพื่อสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ เชื่อมโยงโรงเรียนเข้ากับชุมชนมีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับภูมิปัญญาท้อง ถิ่น” ที่กล่าวมานี้ควรเป็นบทบาทของใครในการประยุกต์ใช้ ICT ในการจัดการเรียนรู้
– ครู
•    ICT หมายถึงข้อใด
– Information and Communication Technology
•    สาเหตุสำคัญที่ครูต้องสร้างตัวอย่างผลงานนักเรียนขณะออกแบบหน่วยการเรียนคือข้อใด
– ช่วยให้ครูสามารถตัดสินใจได้ว่างานนั้นเหมาะสมกับนักเรียนหรือไม่
•    การเรียนรู้โดยใช้โครงงานเป็นฐานเหมาะสมกับการจัดการเรียนรู้ในกลุ่มสาระการเรียนรู้ใด
– ทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้
•    ข้อใด ไม่ใช่ ยุทธศาสตร์ของแผนแม่บทด้าน ICT ของกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ.2550-2554
– e_Service
•    ข้อใดเป็น Search Engine (โปรแกรมสำหรับการค้นหา) ของต่างประเทศทั้งหมด
– Google Yahoo MSN Bing
•    หากต้องการเผยแพร่วิดีทัศน์ควรใช้ Social Network ในข้อใดเหมาะสมที่สุด
– YouTube
•    ข้อใดกล่าวถึงบล็อก (Blog) ได้ไม่ถูกต้อง
– เว็บที่ให้บริการบล็อกฟรี ได้แก่ Hi5, MySpace, Facebook, Bloggang, Oknation, Ning
•    ข้อใดไม่ใช่จุดมุ่งหมายของการใช้ ICT ในการเรียนการสอน
– เพื่อให้ครูและนักเรียนใช้ในการติดต่อสื่อสาร
•    ครูควรดำเนินการประเมินอย่างไร เพื่อให้การประเมินมีประสิทธิภาพ
– มีการวางแผนที่รอบคอบและนำไปใช้อย่างเป็นระบบ
•    ข้อใดเป็นขั้นตอนที่สำคัญที่สุดของการพินิจพิเคราะห์กระบวนการออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้
– ออกแบบกิจกรรมให้ครอบคลุมภาระงานและการใช้เทคโนโลยี
•    ข้อใดไม่ใช่ลักษณะของการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
– นักเรียนสามารถเลือกใช้ ICT ได้อย่างหลากหลายตามความต้องการ
•    คุณครูโนรีได้ดาวน์โหลด(download) สื่อมัลติมีเดียจากเว็บไซต์ต่างประเทศมาให้นักเรียนศึกษาเพิ่มเติมแสดงว่า คุณครูโนรี ได้ใช้ศักยภาพของ ICT ที่สนับสนุนการเรียนรู้ในประเด็นใด
– การค้นหาสารสนเทศ
•    ข้อใดเป็น Content Management System : CMS ระบบบริหารจัดการเนื้อหาสำหรับเว็บ
– PHP-Nuke, MyPHPNuke, Mambo, XOOPs, Drupal
•    ปัจจัยใดไม่ส่งผลกระทบหรือส่งผลกระทบน้อยที่สุดต่อความสำเร็จที่เกิดจาก การใช้แหล่งทรัพยากรการเรียนรู้บนอินเทอร์เน็ตในการจัดการเรียนรู้ของแต่ละ สถานศึกษา
– ส่งเสริมการสร้างทรัพยากรการเรียนรู้บนอินเทอร์เน็ต
•    ข้อใดไม่จัดเป็นเว็บ 2.0
– ผู้ใช้ต้องมีความรู้การสร้างเว็บ
•    ข้อใดไม่ใช่ทักษะที่จำเป็นด้าน ICT ของครู ในการประยุกต์ใช้ ICT ในการจัดการเรียนรู้
– การใช้อีเมล์ในการติดต่อสื่อสาร
•    ข้อใดไม่ใช่เหตุผลสำคัญในการเลือกใช้ blog บน www.thaigoodview.com ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้
– โดเมนเนมเป็น ดอทคอม (.com)
•    ข้อต่อไปนี้เป็นกลวิธีบูรณาการ ICT ในการสนับสนุนการจัดการเรียนรู้ทุกข้อยกเว้นข้อใด
– ใช้เผยแพร่ผลงานทางวิชาการของครู
•    ท่านคิดว่าครูควรมีบทบาทอย่างไรในการนำแหล่งทรัพยากรการเรียนรู้บนอินเทอร์เน็ตมาใช้ในการจัดการเรียนรู้
– ครูควรใช้อินเทอร์เน็ตให้เหมาะสมกับบริบทของเนื้อหาวิชาและทรัพยากรที่โรงเรียนมี
•    ข้อใดเรียงลำดับเวลา ก่อน – หลัง ที่ครูไทย จัดทำและใช้สื่ออิเล็กทรอนิกส์ได้ถูกต้อง
– บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน (CAI), Microsoft Word/PowerPoint, เว็บเพจ (html), บล็อก (Blog)
•    กิจกรรม “การสนับสนุนนักเรียนให้รู้จักวิธีการเรียนรู้แบบกำกับตนเอง” จัดทำเพื่อจุดประสงค์ในข้อใด
– การวางแผนเพื่อความสำเร็จของนักเรียน
•    โรงเรียนแห่งหนึ่งได้รับงบประมาณสนับสนุนจากองค์กรเอกชนมาจัดสร้างห้อง เรียนคอมพิวเตอร์จำนวน 1 ห้องเพื่อให้ครูที่สอนวิชาวิทยาศาสตร์ใช้จัดการเรียนรู้ในวิชาโครงงานเพื่อ ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มได้ใช้ ICT อย่างมีประสิทธิผล โรงเรียนแห่งนี้ควรวางแผนในการจัดการเรียนรู้ด้วย ICT ในรูปแบบใด
– หนึ่งนักเรียนหนึ่งคอมพิวเตอร์
•    ข้อใดไม่ใช่ลักษณะของเว็บ 1.0
– แสดงความคิดเห็นได้
•    ข้อใดไม่ใช่ประโยชน์ที่คุณครูได้รับจากการใช้บล็อกในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้
– สร้างรายได้จากค่าโฆษณาผ่านบล็อก



รวมเฉลย  UTQ




11 ความคิดเห็น:

  1. ขอบพระคุณมากๆคะ

    ตอบลบ
  2. ขอบพระคุณมากๆคะ

    ตอบลบ
  3. ไม่ระบุชื่อ19 กรกฎาคม 2559 เวลา 18:02

    ขอบคุณมากๆค่ะ

    ตอบลบ
  4. ไม่ระบุชื่อ19 กรกฎาคม 2559 เวลา 18:18

    ขอบคุณมากๆค่ะ

    ตอบลบ